Page 375 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 375
A4-104
19th HA National Forum
of Death at Home) โดยส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกันในลักษณะท่ีใกล้เคียงกับร่วมคิด-ร่วมทา-ร่วมเรียนรู้ (Participatory Interactive Learning through Actions: PILA) ใน DHML โดยผ่านกระบวนการท่ีเรียกว่า “Productive Interactions” ด้วยการส่งเสริมให้เกิด the meetings of different Experts ท้ังนี้ Experts ที่แตกต่างประกอบด้วย “Experts in Knowing (กาลังเผชิญกับ Suffering & Well-being)” หมายถึง ผู้ที่ได้ รับการดูและผู้ให้การดูแลท่ีบ้าน “Experts in Tacit Knowledge” หมายถึง ผู้ท่ีผ่านประสบการณ์ของการเป็นผู้ได้รับการดูและให้การดูแล และ “Experts in Explicit Knowledge” ผู้ทาหน้าท่ีให้การดูแลในวิชาชีพต่างๆ (Professionals) ซึ่งนอกจากส่งผลต่อ “Good Quality of Care (รวม ถึง Good Quality of Death)” แล้วยังส่งผลต่อการดูแลและการเรียนรู้ร่วมกันในรูปของ Inter- and Trans-Professional Care และ Inter-and Trans-Professional Education อีกด้วย
กรณีประเทศไทยซึ่งมีบทเรียนผ่านประสบการณ์ของการขับเคล่ือนในรูปของ DHS การร่วมคิด-ร่วมทา-ร่วมเรียนรู้ (PILA) ผ่านการจัดการ เรียนในรูปของ DHML ถ้า พชอ/พชข. ได้รับการสนับสนุนและให้ความสาคัญกับการขับเคลื่อนและกระบวนการเรียนร่วมกันในลักษณะดังกล่าว โดยเชื่อมโยงกับสถาบันการศึกษาอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้เกิดเป็น “เครือข่ายการเรียนรู้ (Learning Networks)” ทั้งภายในอาเภอ ระหว่างอาเภอ และภาพรวมของท้ังประเทศ เป็นองค์ประกอบของกระบวนการขับเคล่ือนและกระบวนการเรียนรู้ที่สาคัญ ที่ส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมาย คนอาเภอ เดียวกันไม่ทอดทิ้งกัน และคนไทยใส่ใจดูแลกัน
บทส่งท้าย
เม่ือผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายกับการดาเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับพ้ืนท่ีทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชา สังคมเข้าใจเร่ือง 3P1O อย่างชัดเจน 3P1O จะกลายเป็นวัฒนธรรมองค์กร วัฒนธรรมของเครือข่าย เป็นเครื่องมือในการพัฒนาอย่างยั่งยืน เริ่มต้น จะต้องทาให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องที่สนใจได้ทาความเข้าใจถึงเป้าหมาย (Purpose) เร่ืองที่จะขับเคล่ือนให้ตรงกันเสียก่อนให้มีพลังไปในทิศทางเดียวกัน แล้วระดมการมีส่วนร่วม (Participation) ร่วมเรียนรู้เพ่ือเกิดประโยชน์ร่วมกัน จากน้ันจึงกาหนดหลักการ วิธีการ (Principle) ในการบรรลุเป้าหมาย การจัดโครงสร้างและกลไกของ (Organization) ควรมีลักษณะเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายความสัมพันธ์ทางราบ ที่ไม่มีใครมีอานาจเหนือใคร โดยต้อง เข้าใจว่า 3P1O ควรมีความเป็นศิลปะ เป็นกระบวนการท่ียืดหยุ่นมากกว่าการยึดตามตัวบทกฎหมาย เพ่ือให้การขับเคล่ือนประเด็นต่างๆ และภาพ ฝัน คนอาเภอเดียวกันไม่ทอดทิ้งกัน คนไทยใส่ใจดูแลกัน เป็นจริงได้ในที่สุดและเป็นไปอย่างมีชีวิต
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
การใช้ 3P1O เป็นกลยุทธ์ในการขับเคล่ือนประเด็นต่างๆ ในพ้ืนที่เพื่อให้เกิดความย่ังยืนโดยท่ี P : Participation มีความสาคัญสูงมากที่ จะทาให้เกิด Purpose Principle และ Organization บนพื้นฐานความเท่าเทียมของปัจเจกบุคคลแต่ปัจจัยที่ทาให้ 3P1O เป็นกลยุทธ์อันทรงพลัง คือ ทุนมนุษย์ ดังตัวอย่างของ พชอ.ยะรัง พชอ.สารภี กลุ่มฮักเมืองน่าน
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
ปัจจัยของการนา 3P1O ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ หรือระดับพื้นที่ท่ีใกล้ชิดประชาชน ประกอบด้วย
1. คน มีความรู้เป็นทุนเดิมดังเช่นกานันตาบลท่ากว้าง มีความเป็นผู้นาโดยธรรมชาติ มีความสามารถในการสร้างและพัฒนาความสัมพันธ์ คิดบวก ซ่ึงเป็นฐานสาคัญของการมีส่วนร่วม
2. ทุนทางสังคม เช่น ทุนบุคคล ทุนทางวัฒนธรรม ทุนภูมิปัญญา ทุนเครือข่ายกลุ่มองค์กร ซ่ึงจะเป็นฐานรากทาให้การพัฒนาเติบโตและ ยั่งยืน เพราะชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และมีความเข้มแข็ง
3. ภาครัฐ ที่อยู่ในลักษณะของ FA หรือ Coach ต้องไม่ใช้ผู้ส่ังการ ดังเช่นกรณีของ นพ.จรัส สิงห์แก้ว กับการสนับสนุน พชอ.สารภี
375 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)