Page 378 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 378

B1-104
19th HA National Forum
  นิภา ไทโส
แลกเปล่ียนประสบการณ์ การทางานระบบสาธารณสุข ของอาเภออุบลรัตน์ซึ่งมีการทางานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่าย ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2536 มกี ารเรยี นรกู้ ารประเมนิ มาตรฐาน DHSA ในชว่ ง re-accreditation รว่ มกบั การ pre-survey ซงึ่ การรบั รองคณุ ภาพระบบสขุ ภาพชมุ ชน ระบบ สขุ ภาพอา เภอควรมกี ระบวนการอยา่ งไรและจะรบั รองอะไรบา้ ง อยา่ งไร การลงเยยี่ มสา รวจของทมี สรพ.เปน็ วธิ กี ารเสรมิ พลงั พดู คยุ กบั คณะกรรมการ ประสานงานสาธารณสุขระดับอาเภอ ประกอบด้วย ผอ.รพ.สต., ผอ.รพ.และภาคีเครือข่าย เก่ียวกับกระบวนการที่ทางานและตัวชี้วัดท่ีทาให้บริการ สาธารณสขุ ระดบั อา เภอประสบความสา เรจ็ นอกจากความภาคภมู ใิ จแลว้ ชมุ ชนไดอ้ ะไรจากการใหบ้ รกิ ารสขุ ภาพ (clinical outcome) มกี ารลงเยยี่ ม ในชมุ ชน โดยประเมนิ วธิ กี ารขบั เคลอื่ นวา่ เปน็ ไปในแนวทางเดยี วกบั ของระบบสขุ ภาพอา เภอหรอื ไม่ หลงั จากนนั้ ทมี เยยี่ มประเมนิ เปดิ เวทพี ดู คยุ เกยี่ ว กับกระบวนการคุณภาพ โดยให้พื้นที่เป็นผู้เล่าสิ่งดีๆ ผลลัพธ์ที่ทางานประชาชนได้ ความรู้สึกได้รับการประเมินคือความท้าทายว่าระบบการทางานที่ ทาอยู่ดีหรือไม่ โดยเปิดใจให้ผู้อื่นเข้ามามาแนะนา ถ้าดีอยู่แล้วจะทาต่ออย่างไร กรณีมีข้อบกพร่องจะได้พัฒนาอย่างถูกทาง
วิธีการเตรียมทีมในการเข้าสู่กระบวนการรับรองระบบบริการสุขภาพของอาเภออุบลรัตน์ มีวิธีการ ดังน้ี
1.ทบทวนตนเองและสร้างเป้าหมาย “อาเภออุบลรัตน์น่าอยู่ที่สุดในโลก” แต่การทาให้เป็นอาเภอที่น่าอยู่ได้จาเป็นต้องจัดการปัญหา ในพื้นที่ ซ่ึงมีดังนี้ ความยากจน มีหนี้สินมาก ใช้สารเคมีมากในการเกษตร การอพยพแรงงาน ภาวะโลกร้อน ภาวะเจ็บป่วยต่อสุขภาพ เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง วัณโรคปอด รวมถึงการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร โดยมีเป้าหมายการพัฒนาคือ ชาวอาเภออุบลรัตน์มีคุณภาพชีวิตดีและสิ่งแวดล้อมดีอย่างยั่งยืน
โดยการใช้ยุทธศาสตร์ 5 ส คือ
- ส 1 สังคมดี คนอุบลรัตน์ไม่ทอดทิ้งกัน/ทาผ้าป่าประชารัฐเจ็บป่วยมามีห้องพิเศษนอนฟรีเพียงบริจาค 3 บาท/วัน - ส 2 ส่ิงแวดล้อมดี พื้นท่ีสีเขียว ป่าครอบครัว ลดขยะ
- ส 3 สุขภาพดี ด้วยบริการปฐมภูมิ/ PCC ใกล้บ้านใกล้ใจ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
- ส 4 สัมมาอาชีพดีด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
- ส 5 สมองดี มีคนเก่งทางปัญญาในชุมชนในการแก้ปัญหา
2. เรียนรู้มาตรฐาน DHSA โดยเรียนรู้จาก สรพ. โดยมีทีมนาและภาคีเครือข่าย ทั้ง รพ.สต. สสอ.
3. ตัดสินใจในการขับเคลื่อน DHSA ร่วมกับทีมบริหารและกาหนดระยะเวลาในการร่วมรับการประเมิน 4. กาหนดเป้าหมายให้ชัดเจนคือประชาชนจะได้อะไรจากการพัฒนา
5. นาเข้าหาข้อสรุปร่วมกันในเวที คปสอ. ในเร่ืองแนวทางการขอรับการประเมิน
6. ประชุม/อบรมเจ้าหน้าที่แบบมีส่วนร่วมจาก ระบบบริการในโรงพยาบาล สู่ระบบสุขภาพยั่งยืน
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   378



















































































   376   377   378   379   380