Page 388 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 388
B3-104
19th HA National Forum
นเรศ สงเคราะห์สุข
กระบวนการเรียนรู้แบบ District Health Management Learning (DHML) ที่จะมีภาคประชาชนเข้ามาร่วมเรียนรู้ จะช่วยให้เปิดมุม มองของภาครัฐสู่ภาคประชาชนท้ังในเร่ืองคุณภาพและวิธีการขับเคลื่อน จากประสบการณ์การทางานของอาจารย์ท่ีอยู่ในภาครัฐมาก่อนพบว่าก่อน หน้าน้ันคือการทางานบนกระดาษโดยท่ีไม่เห็นของจริง วิเคราะห์จากหน้าหนังสือมากกว่าการปฏิบัติ เช่น กรณีชาวเขาตัดไม้ทาลายป่า เห็นเขาถือ ปืน ก็จินตนาการไปว่า ต้องน่ากลัวและจินตนาการในเรื่องต่างๆ ไปเรื่อย แต่เมื่อไปสัมผัสจริงๆ กับชาวเขาก็ไม่ได้เป็นเช่นน้ัน สรุปง่ายๆ ว่าโง่มาตลอด ชีวิต มีสิ่งท่ีฝังอยู่ในหัว ไม่รับรู้และในการเปิดรับส่ิงใหม่ๆ ครั้งหนึ่งเมื่อเดินเข้าป่า ต้องใช้ใบตองเพื่อปูเป็นที่นอน อาจารย์ไปตัดใบตองสด ตอนนอนจึง ได้ยินเสียงก๊อกแก้กตลอดเวลา แต่ชาวบ้านท่ีไปด้วยเขาใช้ใบตองแห้ง และเห็นเขาหลับสบาย เพราะเราจะรู้สึกว่าเราเก่งกว่าชาวบ้าน จึงทาให้เห็นว่า การมีอีโก้และการ การศึกษาบ้านเราเป็นตัวอุปสรรค คนที่เรียนเยอะจะรู้สึกว่าเหนือกว่าคนอื่น และทาให้เรียนรู้ว่า ถ้าอยากจะเข้าถึงความจริงบาง เร่ืองต้องใช้ความสามารถเยอะ เพราะชาวบ้านไม่ได้ไว้ใจข้าราชการ ต้องมีการพิสูจน์ในระยะยาว ข้อดีของราชการมีเยอะแต่ก็ยังมีข้อจากัดอีกมาก
จากการท่ีอ.นเรศฯ ได้มาร่วมทางานกับ นพ.สุรเกียรติ อาชานุภาพ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ DHML ทาให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ซ่ึง กันและกัน และเรียนรู้ด้วยกัน เน้นว่าต้องมีการจัดการท่ีดี เปรียบเสมือนดาบท่ีมี 2 คม ถ้าจัดการไม่ดี ก็ต้องเกิดการบาดและเลือดออกได้ และต้อง ทา ความเขา้ ใจกบั กลมุ่ เปา้ หมาย ถา้ อยากเหน็ ภาคประชาชนเขา้ มาสว่ นรว่ ม ตอ้ งมพี นื้ ทใี่ หส้ า หรบั ภาคประชาชน และการมสี ว่ นรว่ มของภาคประชาชน ถือเป็นหัวใจของการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.)
ผลการทดสอบ PISA ซ่ึงเป็นการทดสอบในเด็กอายุ 15 ปี เพื่อทานายว่าเมื่อเด็กโตขึ้นอายุ 25 ปี ประเทศเราจะได้พลเมืองแบบไหน โดยทดสอบในประเทศสมาชิก 77 ประเทศ พบว่าประเทศไทยวิชาท่ีเราบ๊วยอันดับที่ 1 คือ คณิตศาสตร์ เขาไม่ได้สนใจคาตอบ แต่จะสนใจความเป็นเหตุ เป็นผล แสดงวิธีการแก้โจทย์ แต่การเรียนบ้านเราไม่ใช่ เราไม่สนใจถึงวิธีแก้โจทย์ วิชาที่เราบ๊วยอันดับที่ 2 คือ วิทยาศาสตร์ คือ อะไรที่จริงต้องมี หลักฐาน ยกตัวอย่างเช่น หม้อต้มน้าสาหรับจุ่มช้อนรับประทานอาหารในศูนย์อาหารตามห้างได้พิสูจน์แล้วว่าในหม้อต้มนั้นมีเช่ือโรค แต่ทาไมเราเม่ือ ต้องไปรับประทานอาหารจึงต้องทาตามกัน วิชาที่ 3 ที่เราบ๊วย คือ การอ่าน ซึ่งเขาจะให้คาถามมาประมาณ 10 ชุด ท่ีไม่เก่ียวกันเลย ให้หาข้อสรุป ของเน้ือหาอย่างเช่ือมโยง และเราเช่ือมโยงไม่ได้ เฉกเช่นเดียวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.) หากได้ตัดสินใจทาอะไร ต้องมีเหตุมีผล มีข้อมูลและเชื่อมโยงได้ ถ้าเชื่อมโยงไม่ได้ก็จะเดินหน้าต่อไปไม่ได้ ติดกับดักอยู่ที่ Function
หากจะถามว่าท่านนายอาเภอก้าวข้าม Function ไปได้อย่างไร มันเหมือนเป็นแท่งๆ ต้องมีคนที่แข็งแรงเข้ามาเพื่อทาหน้าที่เป็น Cross function ซงึ่ นอกจากจะแขง็ แรงแลว้ ตอ้ งเปน็ คนทมี่ คี วามรแู้ ละเชอื่ มโยงได้ เสมอื นคนทเี่ ชอื่ มโยงวา่ การทปี่ ลาทแู พงขนึ้ เพราะสม้ เมอื งฝาง ดว้ ยเพราะ เปน็ เหตทุ ที่ า คนเดยี วไมไ่ ดแ้ ละมนษุ ยม์ ขี อ้ จา กดั ในความเชอื่ มโยง ดงั นน้ั ตอ้ งมเี พอื่ นเพราะความเชอื่ มโยงนแี่ หละ และจากผลการทดสอบ PISA สรปุ ได้ ว่า ในอีก 10 ปี ข้างหน้า เราจะได้คนไทยที่ไม่มีเหตุมีผล ไม่มีหลักฐานที่จะพิสูจน์ว่าอะไรจริง และเชื่อมโยงไม่ได้ และเราจะก้าวข้ามเรื่องน้ีกันอย่างไร
บทส่งท้าย
การเป็นนายอาเภอจึงทาให้มี Authority ที่จะบูรณาการงานจากทุกส่วนราชการในพ้ืนที่ และจากระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีเรื่องการ พัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ ทาให้นายอาเภอได้น่ังหัวโต๊ะเป็นประธาน แต่ถ้าไม่มีบารมีก็จะไม่สามารถรวบรวมผู้คนให้มาร่วมกันขับเคลื่อนเพ่ือ พัฒนาคุณภาพชีวิตได้ จะสร้างบารมีได้อย่างไร นั่นคือต้องลงทุนลงแรงด้วยตัวเอง ต้นไม้ที่ล้มต้นนั้นนายอาเภอจะต้องลงไปผลักเป็นคนแรก ทางาน ให้ตอบโจทย์พี่น้องประชาชน ใครจะทาไม่รู้เราจะทา ไม่สนใจว่าเป็นคนของใคร ด้วยการยกมือข้ึนที่ระดับหัวไหล่ จิตอาสาทาดีด้วยหัวใจ ไม่บ่น ไม่ ท้อ ไม่เหนื่อย ให้กาลังใจเดินหน้า ฝ่าฟัน ด้วยหลักการดาเนินงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ รัชกาลท่ี 9 “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา”
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
1. ในการทางานในพื้นท่ี นายอาเภอต้องทาหน้าท่ีเป็น Case manager แต่ Case management ต้องทาด้วย ทีมสหวิชาชีพ
2. กระบวนการเรยี นรแู้ บบ DHML กบั การดา เนนิ งานงานขบั เคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ระดบั อา เภอ (พชอ.) ทา ใหเ้ กดิ พน้ื ทสี่ า หรบั ภาค ประชาชน เพราะหัวใจของ DHML คือการเรียนรู้เพื่อให้เกิด Interactive กับประชาชน และส่งผลให้ประชาชนมีศักยภาพเพียงพอท่ีจัดการตนเองได้ 3. การขับเคล่ือนการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.) ที่มีคุณภาพต้องมี 3 อย่าง คือ 1) มีเหตุมีผล 2) มีข้อมูลที่เป็นหลักฐาน 3)
ต้องเชื่อมโยงได้ และต้องมี Ownership
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 388