Page 386 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 386

B3-104
19th HA National Forum
  เอก ยังอภัย ณ สงขลา
ได้กล่าวถึงบทบาทของนายอาเภอ คือ การเป็นตัวเชื่อมต่อ หรือ Connectors ด้วยการรับนโยบายจากรัฐบาลแล้วแปลงไปสู่การปฏิบัติใน พื้นท่ี เป็นการบูรณาการ 3 ส่วน เข้าด้วยกัน คือ Agenda Function และ Area ทาหน้าที่ Mix and Match โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชนด้วยการบูรณการ (Integrated) ทั้งภาครัฐ ภาคประชาชนและภาคเอกชนอย่างจริงจัง ใช้ function และกลไกในระดับชุมชนมา ขับเคลื่อน เพราะการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน มิใช่เพียงหมายถึงการแก้โจทย์หรือปัญหาท่ีอยู่ตรงหน้าเท่านั้น แต่ต้องดูทั้งหมดที่เป็นหน่วยของ ครอบครวั หรอื การเปน็ องคร์ วม และทสี่ า คญั คอื จะตอ้ งวเิ คราะหข์ อ้ มลู เพอื่ ใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื ดว้ ยหนว่ ย(Unit)ระดบั หมบู่ า้ น โดยการใชค้ ณะกรรมการ หมู่บ้านในการดาเนินงานในระดับพ้ืนที่ในประเด็นปัญหาด้านคุณภาพชีวิตท่ีทุกส่วนราชการต้องเข้ามาร่วมกันทา เพราะคณะกรรมการหมู่บ้านคือ รากฐานของแผ่นดิน เปรียบเสมือนรัฐมนตรีของหมู่บ้านที่มีกฎหมายรองรับ ดังนั้นจึงต้องทาให้ทุกหมู่บ้านมีความเข้มแข็งโดยไม่ต้องยึดติดกับนาย อาเภอต้องสามารถจัดการปัญหา ตัดสินใจและแก้ไขปัญหาในหมู่บ้านได้ด้วยความพอประมาณ มีคุณธรรม มีเหตุมีผล และมี 2 เร่ืองท่ีต้องกากับ คือ 1.จริยธรรม และ 2.ความดีงาม ซึ่งก็คือหลักเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
การปรับ mindset
การปรับทัศนคติ การสร้างความเข้าใจท่ีจะให้ทุกส่วนราชการในระดับพื้นทีไม่ว่าจะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เกษตรตาบล ปลัดตาบล พัฒนาชุมชนตาบล ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาตามปัญหาของประชาชนด้วยเป้าหมายเดียวกัน คือ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี หากขา้ ราชการไดต้ งั้ คา ถามกบั ตวั เองวา่ เราเปน็ ขา้ ราชการมอื อาชพี หรอื เปลา่ มไิ ชม่ อี าชพี เปน็ ขา้ ราชการ จดุ มงุ่ หมายเราคอื อะไร ตา แหนง่ หรอื ซี การ ที่เรามีโอกาสที่มากกว่าคนอ่ืน เราจะไปตอบแทนประชาชนอย่างไร ทุกวันนี้ท่ีประเทศไทยหมุนไปไม่ถึงไหน เพราะต่างคิดต่างทา ส่ิงที่ก้าวข้ามยาก ที่สุดของข้าราชการและเป็นสิ่งที่ท้าทายอย่างมากคือ อีโก้ (ego) เพราะเรามักจะคุ้นชินและคิดว่า เรารู้ดีที่สุดในงานของเรา แต่เราไม่คิดท่ีจะเอาองค์ ความรู้จากงานในหน้าที่ไปสนับสนุนสร้างพลังข้ึนมาเพื่อตอบโจทย์ ที่มีพื้นที่เป็นฐานและประชาชนเป็นศูนย์กลางได้อย่างไร
วิธีการเสริมพลัง (Empowerment)
ทีมงานในพื้นที่ของนายอาเภอหนองจิก คือจะทาอะไรต้องให้เห็นเจริง นั่นคือต้องเดินไปหาชาวบ้าน เดินไปเย่ียมประชาชนที่บ้านและแก้ โจทย์ท่ีเห็นตรงหน้า ยกตัวอย่างในบ้านหลังหน่ึงมีผู้ที่เจ็บป่วยด้วยอะไร อาชีพมีหรือไม่ มีผู้สูงอายุก่ีคน มีคนพิการหรือผู้ป่วยติดเตียงหรือไม่ มีความ อบอุ่นทางใจหรือไม่ จปฐ. ท่ีมีท้ังหมด 30 ตัว ครัวเรือนนี้ตกเกณฑ์กี่ตัว การเย่ียมบ้านประชาชนเพียงหนึ่งหลังก็สามารถเห็นปัญหาได้ครอบคลุมของ ทุกส่วนราชการแต่เราไม่ได้มาทางานแบบบูรณาการร่วมกัน และในกรณีผู้ป่วย NCD, คนหนึ่ง มีความดันโลหิตสูงถึง 190 mmHg ในขณะท่ีมียาอยู่ ข้างตัวแล้วทาไมไม่ได้กินยาต่อเนื่อง ปัญหาอยู่ท่ีตรงไหนและจะแก้ไขอย่างไร มีตัวอย่างนี้ในการใช้งบประมาณของกองทุน สปสช.ในระดับตาบล ได้เคยเรียกเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขประจาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) มาสอบถาม บอกว่า หนูไม่มีส่วนเลยในการทาแผนของตาบล เลย นั่นแสดงว่าเราไม่เคยทางานร่วมกันเลยในพื้นท่ี ส่วนราชการที่ต้องทางานในพื้นท่ีตาบลมีอยู่มากมาย เกษตรตาบล พัฒนาชุมชน และหน่วยงาน ความมั่นคง เยอะเยอะไปหมด จึงเป็นหน้าที่ของทุกส่วนราชการและของทุกคน ที่ต้องทางานโดยเอาคนหรือประชาชนเป็นศูนย์กลาง แท้จริงแล้วไม่ ต้องเอาระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีมาจับ ก็สามารถทางานได้ และถึงแม้จะออกระเบียบฯ มาแล้ว คณะกรรมการจานวน 21 คนที่ว่าแต่ถ้าไม่มีใจก็ ไมม่ วี นั ประสบความสา เรจ็ มเี งนิ สบิ ลา้ นยสี่ บิ ลา้ นบาท ถา้ ไมเ่ ปดิ ใจทจี่ ะทา งานดว้ ยกนั กไ็ มม่ วี นั ทจ่ี ะประสบความสา เรจ็ เปน็ เรอื่ งทา้ ทายของขา้ ราชการ
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   386


























































































   384   385   386   387   388