Page 406 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 406
A2-105-B
19th HA National Forum
นพ.ทวี รัตนชูเอก
One day surgery หรือ ODS เป็นความร่วมมือของทุกภาคส่วนที่ให้การดูแลผู้ป่วยร่วมกัน และถือเป็น New frontier in Thai health care system ซงึ่ เปน็ ประเดน็ ทที่ กุ หนว่ ยราชการในกระทรวงสาธารณสขุ ไดม้ กี ารพดู คยุ กนั และเปน็ ความทา้ ทายอยา่ งมากทจี่ ะทา ใหเ้ กดิ ความยงั่ ยนื ปีท่ีผ่านมา รัฐบาลเริ่มเข้าสู่โมเดลของไทยแลนด์ 4.0 จุดสาคัญคือการต้องการเน้นนวัตกรรม เน้น value-added เพ่ิมคุณค่าด้านคุณภาพ ชีวิต เพ่ิมคุณค่าด้านสุขภาพของประชาชน ไม่ใช่เพียงแต่ด้านเศรษฐศาสตร์อย่างเดียว กระทรวงสาธารณสุขซึ่งเป็นภาคส่วนหนึ่งของรัฐบาลต้องปรับ ตัวให้สอดคล้องกับนโยบายของชาติ เพราะฉะน้ัน One day surgery model จึงเป็นหน่ึงใน 10 ประเด็นหลักในการขับเคล่ือนประเทศไทย 4.0
ในด้านสาธารณสุข และเป็นหน่ึงที่คณะรัฐมนตรีและกระทรวงสาธารณสุขได้เป็นมอบของขวัญให้ประชาชน ปัจจุบันวิวัฒนาการทางการแพทย์มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก ในต่างประเทศมีการพัฒนาด้านเทคโนโลยีต่างๆ มาใช้ให้เกิดประโยชน์
ต่อสุขภาพประชาชน มีการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับแบบผู้ป่วยนอก โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีความซับซ้อนขึ้นเร่ือยๆ สาหรับประเทศไทยมีการรักษาแบบ น้ีแต่มีปริมาณไม่มากนักและกระจัดกระจายกัน โครงการ ODS จึงมีความจาเป็นในการพัฒนาเชิงระบบเพื่อลดค่าใช้จ่าย ลดระยะเวลาการรอคอย ต่างๆ และลดความแออัดของโรงพยาบาลใหญ่ ส่งผลให้ลดการสูญเสียทั้งระยะเวลาและเศรษฐานะ ลดภาระของผู้ป่วย ญาติ และโรงพยาบาล ทาให้ เศรษฐกิจส่วนรวมดีขึ้น และจากการท่ีแต่ละพ้ืนท่ีมีการดาเนินงานท่ีแตกต่างกัน กรมการแพทย์ได้เป็นผู้รับผิดชอบโครงการฯ ทบทวนระบบโดย เฉพาะการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดจากโรงพยาบาลสู่ชุมชน และนาทีมโดย ศ.นพ.ศุภกร โรจน์นินท์ ประธานคณะทางานด้านการพัฒนาระบบบริการ ผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ ได้เชิญผู้เช่ียวชาญจากทุกภาคส่วนให้เข้ามาร่วมกันพัฒนาระบบในทุกโรคและทุกสาขา ทั้งน้ีเพื่อให้เกิดความปลอดภัยเพราะ ต้องเตรียมผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัดที่บ้าน เหลือเฉพาะการผ่าตัดอยู่ท่ีโรงพยาบาล ต้องทาให้ทั้ง 3 ส่วน รวมเป็นหนึ่งแล้วผู้ป่วยมีความปลอดภัยมาก ท่ีสุด อาศัยการพัฒนาระบบงานวิสัญญีและความร่วมมือของศัลยแพทย์และสาขาท่ีเกี่ยวข้อง การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติในขั้นตอนต่างๆ ต้ังแต่การคัดกรอง การประเมินความเสี่ยง การเตรียมตัวที่บ้าน ระบบติดตามหลังการผ่าตัด ดังนั้น การดูแลติดตามพัฒนาระบบจึงมีความสาคัญมาก ต้องมีการประเมินสถานพยาบาล โดยมี ผศ.นพ.ธัญเดช นิมมานวุฒิพงษ์ ประธานราชวิทยาลัยศัลยแพทย์ ทาหน้าท่ีเป็นประธานคณะทางานตรวจ เยี่ยมประเมินการข้ึนทะเบียน ท้ัง 13 เขต
หลังจากการตรวจเยี่ยมประเมินทัง้ 13 เขต นาข้อมูลมาจัดทาแนวทางและกาหนดเป็นข้อกาหนด สาหรับการดาเนินโครงการ 9 ประการ ดังน้ี
1. มีคณะกรรมการดูแลโครงการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับของ โรงพยาบาล 2. มีศูนย์ประสานงานการบริการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ
3. มีระบบติดตามผู้ป่วยก่อนและหลังการทาหัตถการ
4. มีแนวทางการปฏิบัติเตรียมความพร้อมของผู้ป่วย ก่อนการทาหัตถการ 5. มีแนวทางการปฏิบัติด้านความปลอดภัยของการทาหัตถการการผ่าตัด 6. มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยในระยะพักฟ้ืน
7. มีระบบสื่อสารกับผู้ป่วยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในโครงการ ตลอด 24 ชั่วโมง
8. มีการจัดอัตรากาลังเพื่อรองรับโครงการ แพทย์ วิสัญญีแพทย์ พยาบาล ท่ีรับผิดชอบ
9. มีการจัดสถานที่เพื่อรองรับโครงการ การจัดเตียงเฉพาะในหอผู้ป่วย เพ่ือรองรับการพักฟื้นหลังการผ่าตัด
ในปี 2561 ในโครงการ ODS ได้กาหนดเพื่อการดาเนินงานเพียง 12 กลุ่มโรคเท่านั้น เพื่อจะให้เขตสุขภาพนาไปพัฒนาระบบ และจะมีเพิ่ม
กลุ่มโรคขึ้นในปี 2562 ถ้าหากโครงการฯประสบความสาเร็จและประชาชนมีความพึงพอใจสูง
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 406