Page 411 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 411

A3-105-A
19th HA National Forum
 ด้านผลลัพธ์การดาเนินงาน ซึ่งเขตสุขภาพท่ี 5 ได้เร่ิมดาเนินการตั้งแต่ปี 2559 ดังนั้นในปี 2560 จะมีคณะกรรมการทุก รพศ. และ รพท. และมีผู้บริจาคทุกโรงพยาบาล โดยปี 2559 มีผู้บริจาคอวัยวะในเขตจานวน 6 ราย บริจาคดวงตา 17 ราย ในปี 2560 บริจาคเพิ่มขึ้นมา 7 เท่า คือ 43 ราย และบริจาคดวงตา 118 ราย สาหรับรพ.ราชบุรีได้ดาเนินการเตรียมเพื่อจะเป็นศูนย์ปลูกถ่ายไตและขอรับรองเป็นสมาชิกสมทบการเป็นศูนย์ รับบริจาคอวัยวะของสภากาชาดไทยตั้งแต่วันที่ 22 พฤศจิกายน 2560 โดยในเดือนมีนาคม 2561 การปลูกถ่ายไตมีผู้ป่วยประมาณ 40 ราย สาหรับ เรื่องการปลูกถ่ายตา มีการวางแผนผ่าตัดจานวน 200 ราย/ปี ได้เร่ิมเม่ือปลายปี 2559 ผ่าตัดได้จานวน 5 ราย ปี 2560 จานวน 17 ราย และช่วง ไตรมาสแรกของปี 2561 จานวน 11 ราย ส่วนระยะเวลาการรอคอยจากก่อนเปิดศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะ มีระยะเวลาการรอคอยการผ่าตัดกระจกตา 2 พันกว่าวัน เม่ือเปิดศูนย์ฯแล้ว ระยะเวลารอคอยเหลือ 300 กว่าวัน ล่าสุดในปี 2561 เหลือระยะเวลารอคอยการผ่าตัดกระจกตาเพียง 13 วัน แปลว่าคนไข้ที่มีความผิดปกติเรื่องกระจกตามาติดต่อขอเข้ารับการผ่าตัดเพียง 2 สัปดาห์ ก็จะได้รับการรักษา ทาให้คุณภาพชีวิตดีข้ึน และสามารถ จัดเก็บดวงตาได้มากข้ึนจาก 0 รายมาเป็น 14 ราย และจานวนเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ
นพ.สกานต์ บุนนาค
การปลูกถ่ายอวัยวะมิใช่เป็นเรื่องท่ีไกลตัวอีกต่อไป ซ่ึงเขตสุขภาพท่ี 5 ทาให้เห็นและเป็นตัวอย่าง และสามารถเพิ่มจานวนผู้บริจาคอวัยวะ ได้ถึง 7 เท่า
เปา้ หมายของการพฒั นาระบบบรกิ าร (service plan) สาขาไตในภาพรวมคอื ลดผปู้ ว่ ยรายใหม่ คดั กรองใหเ้ รว็ และชะลอไตเสอ่ื มไมใ่ หเ้ ขา้ สู่ระยะสุดท้าย (end stage) ไม่ควร dialysis ในผู้ป่วยประคับประคอง และย้ายผู้ป่วย dialysis ที่เหมาะสมสู่การปลูกถ่ายอวัยวะ
สา หรบั ผปู้ ว่ ยทเี่ ขา้ สรู่ ะยะสดุ ทา้ ย (end stage) จะดแู ลในเรอื่ งฟอกไต และการรกั ษาใหม้ คี วามเหมาะสม รวมถงึ การฟอกไตดว้ ยเครอื่ งฟอก ไตเทยี ม (hemodialysis) และการดแู ลแบบประคบั ประคอง (palliative care) เพอื่ คณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี องผปู้ ว่ ย และสดุ ทา้ ยคอื เรอื่ งการปลกู ถา่ ยอวยั วะ ซ่ึงประมาณ 90% ของผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะคือการปลูกถ่ายไตและในการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการ (service plan) สาขาไตนั้น เป็นเวที ทมี่ ผี บู้ รหิ ารนโยบาย (policy maker) นกั วชิ าการ ไดค้ ยุ กบั ผปู้ ฏบิ ตั ิ ทา ใหก้ ารบรหิ ารทมี่ วี ชิ าการชว่ ยใหไ้ ปถกู ทศิ ทาง ลดความสนิ้ เปลอื ง ขณะเดยี วกนั ถ้าฝ่ายวิชาการท่ีไม่มีผู้ปฏิบัติ ไม่มีนโยบายสู่ผู้ปฏิบัติในวงกว้าง ไม่สามารถการขับเคล่ือนสู่ผู้ปฏิบัติได้ ทุกอย่างจะอยู่บนห้ิง จีงต้องอาศัยความร่วมมือ ท้ัง 3 ฝ่าย รวมทั้งต้องอาศัยสมาคมวิชาชีพและเขตสุขภาพ ซ่ึงเป้าหมาย service plan ไต ไม่ใช่การเน้นเทคโนโลยี Hemodialysis เพราะเป็น การตงั้ รบั มคี า่ ใชจ้ า่ ยสงู มากถงึ 20,000 ลา้ นบาท ในอกี 5 ปี ขา้ งหนา้ จะมผี ปู้ ว่ ยทต่ี อ้ งทา Hemodialysis ประมาณ 100,000 คน คา่ ใชจ้ า่ ยจะเพมิ่ ขน้ึ เป็น 40,000-50,000 ล้านบาท ดังน้ันจึงต้อง 1) ชะลอไตเสื่อมไม่ให้เข้าสู่ระยะ end stage 2) ผู้ป่วยที่ไม่จาเป็นต้องทาหรือไม่ควรทา hemodialysis ควร palliative Care 3) ผู้ป่วยท่ีทา hemodialysis ผลักดันสู่การปลูกถ่ายอวัยวะ Kidney transplant ซึ่งมีค่าใช้จ่ายท่ีเหมาะสมกว่า
จากการที่มีการปรับหลักเกณฑ์ในคัดกรองภาวะไตเสื่อม จากเดิมท่ีใช้ค่าไข่ขาวในปัสสาวะ micro albumin หรือ eGFR อย่างใดอย่างหนึ่ง กไ็ ดน้ นั้ แตพ่ อตอนหลงั ตอ้ งทา ทงั้ สองอยา่ งเพราะทางวชิ าการอยากได้ early case สง่ ผลใหม้ กี ารคดั กรองตา่ และคา่ ใชจ้ า่ ยทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเพม่ิ ขน้ึ จึงได้มีการพูดคุยกันสรุปได้ว่า ในผู้ป่วยเบาหวานจะใช้ Lab ทั้ง 2 อย่าง เหมือนเดิม แต่ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงใช้ค่า eGFR อย่างเดียวเพ่ือลดค่า ใช้จ่ายและทาให้การคัดกรองเร็วข้ึน คาดว่าในปีน้ีจะสามารถคัดกรองได้ 80% และความสาเร็จของการชะลอไตเส่ือมอยู่ท่ี 60% ถือว่าค่อนข้างดี ปีท่ีผ่านมาได้ขยาย CKD Clinic ลงไปที่ รพ.F3 ข้ึนไปมากกว่า 50% รพ. F2 มี CKD Clinic 100% และอบรม Advance system manager เพ่ือให้ สามารถดูแลผู้ป่วยได้ท้ัง NCD clinic และ CKD clinic รวมทั้งอบรมผู้ปฏิบัติสหวิชาชีพท่ีดูแลในคลินิกในทุกเขตสุขภาพ ปีที่ผ่านมาเน้นนักกายภาพ ปนี เี้ นน้ ดา้ นอาหาร จดั ทา ตา หรบั อาหารและสอื่ การสอนเรอื่ งอาหารสา หรบั คนไข้ จดั ทา เกณฑป์ ระเมนิ CKD คณุ ภาพ สา หรบั เรอื่ งของ hemodialysis มีการปรับปรุงมาตรฐานกระบวนการตรวจรับรองคุณภาพ โดยเจ้าภาพหลักคือสมาคมโรคไตกับกรรมการตรวจรับรองมาตรฐานการรักษาโดยการ ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (ตรต.) ขณะน้ีได้จัดทาร่างเร่ืองระเบียบต่างๆ ในการกาหนดมาตรฐาน ระบบกากับคุณภาพ จัดทามาตรการควบคุม ศูนย์ hemodialysis และ สัญญาจ้างเหมาเอกชน ราคาและท่ีเกี่ยวข้อง ส่งไปยังสานักงานปลัดกระทรวงฯ เพื่อจะได้ประกาศใช้ต่อไป รวมท้ังจัดทา มาตรฐานการรกั ษาดว้ ย peritoneal dialysis ซง่ึ สว่ นใหญอ่ ยภู่ าครฐั จดั ทา มาตรฐานและขอ้ เสนอเชงิ นโยบายเพอื่ เพมิ่ การเขา้ ถงึ และกระจายเพอื่ ลด ความแออดั สโู่ รงพยาบาลชมุ ชน จดั ระบบสนบั สนนุ เนอื่ งจากระดบั โรงพยาบาลชมุ ชน (รพช.) กรอบอตั รากา ลงั ถกู จา กดั และ career path เนอื่ งจาก ในระบบรพช. ไม่มีคลินิกตรวจรักษาพิเศษ ควรต้องปรับให้เหมาะสมกับความก้าวหน้าในระบบงาน จากระบบโรงพยาบาลใหญ่ในสู่โรงพยาบาลเล็ก
 411 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
 

























































































   409   410   411   412   413