Page 412 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 412
A3-105-A
19th HA National Forum
ในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ได้มีการจัดทาแนวปฏิบัติสาหรับ Palliative care และประชุมระดมสมองจัดทารูปแบบบริการ การดแู ลประคบประคองทเี่ หมาะสมสา หรบั ผปู้ ว่ ยทปี่ ฏเิ สธการบา บดั ไตสา หรบั เขตสขุ ภาพ จดั ทา สอ่ื /คมู่ อื การดแู ลองคร์ วมประคบั ประคอง จดั อบรม ทีมแต่ละจังหวัด มี รพ.นาร่องจังหวัดละ 3 โรงพยาบาล ส่วนด้านข้อมูล(Information) ยืนยันว่ายังใช้ HDC และรายงานตัวช้ีวัดผ่านระบบการตรวจ ราชการ และจัดทา rapid baseline survey ตามศักยภาพและทรัพยากรเพ่ือการพัฒนาร่วมกัน
ปัญหาที่พบร่วมในทุกเขตสุขภาพ คือ 1. การคัดกรอง CKD ที่ต่ากว่าเป้าหมาย 2. ชะลอไตเส่ือมต่ากว่าเป้าหมาย 3. Emergency dialysis ในผู้ป่วย ESRD 4. การตัดสินใจของแพทย์ ผู้ป่วยและญาติ ในการดูแลแบบประคับประคอง 5. ระยะเวลาการรอทา vascular access นาน 5. ขาด การควบคุมคุณภาพศูนย์ Peritoneal dialysis และ Hemodialysis 6. ไม่มีระบบ palliative care สาหรับ ESRD ท่ีชัดเจน 7. ขาดนักกาหนดอาหาร นักโภชนาการ และนักกายภาพ ในระดับ รพช. 8. ผู้ป่วย Peritoneal dialysis ต่อ Peritoneal dialysis nurse เกิน มาตรฐานมาก 9. ขาดแคลน ศัลยแพทย์ซ่อมเส้น Vascular access
มาตรการแกไ้ ขคอื การขยายบรกิ ารคลนิ กิ ไตเรอ้ื รงั (CKD clinic) ใหค้ รอบคลมุ รพ.ระดบั F3 ขน้ึ ไปทงั้ หมด 100% โดยมขี อใหม้ กี ระบวนการ ทางานแบบ CKD Clinic อาจรวมกับ คลินิกโรคเร้ือรัง (NCD Clinic ) ก็ได้ ประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์ประเมินคลินิกชะลอไตเสื่อมคุณภาพ และ ไตรมาส 3 ให้แต่ละเขต จัดการความรู้ร่วมกันด้านกระบวนการและผลลัพธ์และเชื่อมโยงกับ primary care cluster และ DHS แล้วนาปรับปรุง
บทส่งท้าย
สิ่งที่สาคัญในเรื่องการบริจาคอวัยวะคือทัศนคติของประชาชนและบุคลากรเพราะแต่ละคนนั้นยังไม่ค่อยม่ันใจและมีความเชื่อเกี่ยวกับ การผ่าตัดอวัยวะออกไปแล้วชาติหน้าจะมีอวัยวะไม่ครบ จึงควรมีการประชาสัมพันธ์ท่ีดีและด้านบุคลากรควรมีการพัฒนาศักยภาพและทัศนคติ ส่วนทางด้านการพัฒนาระบบบริการบริจาคดวงตา ให้สามารถดูแลภายในเขตได้ซ่ึงทาให้ระบบบริการดีขึ้น เร็วข้ึน ง่ายข้ึน ด้านคุณภาพ เน้นในการ ดูแลผู้บริจาคทุกอย่างต้องกระทาทุกข้ันตอนอย่างคุณภาพ ส่วนคุณธรรม เน้นการวินิจฉัยสมองตายต้องกระทาตามแนวทางด้วยความถูกต้อง สว่ นดา้ นคณุ คา่ คอื อวยั วะของผบู้ รจิ าคไดน้ า ไปใชป้ ระโยชนต์ ามวตั ถปุ ระสงค์ และแทจ้ รงิ แลว้ การบรจิ าคอวยั วะนนั้ สามารถบรจิ าคอวยั วะไดถ้ งึ 7 อวยั วะ ด้วยกัน ในอนาคตจึงต้องมีการพัฒนาในแง่กฎหมายและแนวทางการดาเนินงานต่างๆ และเพื่อเพิ่มการบริจาคให้มากขึ้น ทุกหน่วยทุกคนที่เก่ียวข้อง ตอ้ งรว่ มมอื ดา เนนิ งานกนั อยา่ งเปน็ ทมี ทงั้ แพทย์ วสิ ญั ญแี พทย์ TC nurse เพอื่ ใหม้ กี ารทา งานทที่ นั เวลา เหมาะสม ถกู ตอ้ ง และไดอ้ วยั วะทมี่ คี ณุ ภาพดี
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
ในการทางานเพื่อรับบริจาคอวัยวะนั้น Transplant coordinator nurse นอกจากมีความรู้แล้ว ยังต้องมีทักษะในการเจรจา การประสาน งานกบั ทกุ ฝา่ ย ซงึ่ จะเปน็ แบบนนั้ ไดต้ อ้ งไดร้ บั การสนบั สนนุ และผลกั ดนั ใหม้ กี ารวางระบบตา่ งๆ จากหวั หนา้ พยาบาล และผบู้ รหิ ารระดบั เขต ทสี่ า คญั ต้องมีความตั้งใจ และทุ่มเท จึงประสบความสาเร็จ
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
1. การชี้นาของกระทรวงสาธารณสุขต้องกาหนดเป้าหมายท่ีชัดเจน ทาให้มีวิสัยทัศน์มองไปข้างหน้า ซ่ึงเป็นความท้าทาย ค้นหาปัจจัย ที่เกี่ยวข้องมาสนับสนุน
2. การผลักดันของผู้บริหารระดับเขตในการขับเคลื่อนงานตามนโยบาย รวมทั้งการสนับสนุนทั้งด้านงบประมาณและการพัฒนาบุคลากร รวมทั้งมีการติดตามในการประชุมผู้บริหารระดับเขต
3. การมี Transplant coordinator nurse ที่สามารถทางานเต็มเวลา ทาให้การติดตามผู้รับบริจาคดีข้ึน แพทย์และทีมในแต่ละ รพ. เป็นหัวใจที่สาคัญที่สุดในการพัฒนา เป็นทีมเดียวกัน ชื่นชม ปรึกษา ติดต่อและประสานกันใน line กลุ่ม ค้นหาผู้บริจาคและผ่าตัด
4. การมีผลตรวจทางห้องปฏิบัติการนอกเวลา จะส่งผลให้การดาเนินงานมีความครอบคลุม รวดเร็ว จึงควรพัฒนา Lab นอกเวลาราชการ เพราะบางรพ.ไม่สามารถเป็น donor center ได้เพราะไม่มี Lab นอกเวลาราชการและบุคลากรไม่เพียงพอ
5. การพัฒนาศักยภาพบุคลากร และอบรมเป็นหลักสูตรสาหรับศูนย์ปลูกถ่ายไตและกระจกตา เช่น ศัลยแพทย์หลอดเลือดและทางเดิน ปัสสาวะ หลักสูตรจักษุแพทย์อนุสาขากระจกตา การอบรมเฉพาะทางสาหรับ Transplant coordinator nurse อบรมทีมงานรับบริจาคอวัยวะและ พัฒนาระบบบริจาคดวงตา และพัฒนาให้มีทีม organ retrieval team ในเขต เป็นต้น
6. การปรับโครงสร้างและอนุมัติกรอบให้โรงพยาบาลสามารถจ้างนักกาหนดอาหาร นักโภชนาการนักกายภาพบาบัด ให้สอดคล้อง กับภาระงาน
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 412