Page 460 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 460
A2-107
19th HA National Forum
4. สร้างมาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพการบูรณาการข้อมูลสารสนเทศ และการเชื่อมโยงแลกเปล่ียนข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ กลยุทธ์คือ สร้างมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลแลเชื่อมโยงระบบข้อมูล (Standards and Interoperability), พัฒนาคลังข้อมูลภาพ, พัฒนามาตรฐานความ ปลอดภยั ขอ้ มลู สขุ ภาพ, พฒั นาระบบตวั ชว้ี ดั และระบบตดิ ตามประเมนิ ผล, พฒั นาระบบเฝา้ ระวงั ภยั สขุ ภาพ โดยมกี ารดา เนนิ งานจดั ทา คลงั ขอ้ มลู ดา้ น การแพทย์และสุขภาพ การแลกเปล่ียนข้อมูลในระบบ HDC Data Exchange จัดทาชุดมาตรฐานระบบประวัติสุขภาพผู้ป่วยอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ สารสนเทศตดิ ตามและเฝา้ ระวงั ภยั สขุ ภาพ และมาตรฐานขอ้ มลู ผปู้ ว่ ยเพอ่ื การสง่ ตอ่ ระหวา่ งโรงพยาบาล (nRefer: National Refer data exchange)
5. ขับเคลื่อนและพัฒนานวัตกรรมระบบบริการและโปรแกรมประยุกต์ eHealth ท่ีเป็นประโยชน์ต่อระบบบริการสุขภาพ (Health Care Service Delivery) และประชาชน รวมท้ังมีการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา กลยุทธ์คือ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบ (Process, Software, Hardware, People ware), สนับสนุนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม โดยมีการดาเนินงาน เช่น จัดทาระบบ Smart Health ID บัตร ประชาชนแทนบัตรโรงพยาบาล การใช้เทคโนโลยี Biometrics ในระดับยืนยันตัวบุคคลเพ่ือรับบริการสุขภาพ
6. ผลักดันการใช้กฎหมาย ระเบียบ วิธีปฏิบัติและมาตรฐานที่เหมาะสมเพื่อสนับสนุนการใช้ในระบบ กลยุทธ์คือ สร้างสภาพแวดล้อมทาง กฎหมายใหเ้ กดิ ความครอบคลมุ , สนบั สนนุ การออกแบบหลกั เกณฑ์ แนวปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความปลอดภยั เปน็ ธรรม คมุ้ ครองทงั้ ผรู้ บั บรกิ าร ผบู้ รโิ ภค บคุ ลากร สาธารณสุข และผู้เกี่ยวข้อง, ทบทวนและพัฒนามาตรฐานให้รองรับการบริการสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
7. การพัฒนาทุนมนุษย์ด้าน eHealth และเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการความรู้ด้านการแพทย์และสุขภาพสาหรับประชาชน กลยุทธ์ คือ สร้างระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM: Human Resource Management), เพ่ิมประสิทธิภาพการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (HRD: Human Resource Development), สร้างเครือข่ายระหว่างผู้พัฒนาและผู้ใช้, สนับสนุนการให้ความรู้ ความเข้าใจในภาคประชาชน โดยมีการดาเนินงาน ผลักดันให้
8. เกิดการพัฒนาศักยภาพ อสม. (อสม. 4.0) เพ่ือเป็นส่ือกลางในการสร้าง “สุขภาพประชารัฐ” พัฒนาทักษะด้านดิจิทัลให้กับบุคลากร สาธารณสขุ รวมไปถงึ การสรา้ งผเู้ ชยี่ วชาญดา้ น eHealth ระยะยาวในประเทศไทย (GEEKS: Growing Expertise in eHealth Knowledge and Skills)
(ศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับยุทธศษสตร์ 6 ด้าน https://ict.mohp.go.th, https://eHealth.moph.go.th)
บทส่งท้าย
การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของโรงพยาบาลน้ัน เป้าหมายสุดท้ายของการพัฒนาคุณภาพนั่นคือ ประชาชนผู้รับบริการได้รับ ประโยชนท์ ด่ี ที สี่ ดุ และมคี วามพงึ พอใจในบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพเพมิ่ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตามคา กลา่ วทวี่ า่ “ประชาชนสขุ ภาพดี เจา้ หนา้ ทมี่ คี วามสขุ ระบบ สุขภาพยั่งยืน”
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
1. การได้รับความเห็นชอบและสนับสนุนจากระดับนโยบาย คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
2. การวางรากฐานท่ีดี มีเป้าหมายท่ีชัดเจน และมีการดาเนินการอย่างเป็นระบบของการพัฒนาคุณภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงพยาบาล
3. ความร่วมมือของโรงพยาบาลท่ีเข้าร่วมโครงการ
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 460