Page 462 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 462

A3-107
19th HA National Forum
  ธิราภรณ์ อุ่นแก้ว
โรงพยาบาลขุนหาญ เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด F1 (90เตียง) มีแพทย์จานวน 13 ท่าน โดยมีกุมารแพทย์และแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว สาขาละ 1 ทา่ น ใหบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยนอก 870 รายตอ่ วนั สถานะการรบั รองคณุ ภาพสถานพยาบาลผา่ น Re-Accreditation ครงั้ ที่ 2 เปน็ สถานทดี่ งู านแลก เปลี่ยนเรียนรู้ ในเรื่อง ระบบการส่งต่อไร้รอยต่อ “รถเมล์สายสุขภาพ” ต้นแบบการจัดบริการแพทย์แผนไทย โครงการบูรณาการการผ่าตัดต้อกระจก และต้นแบบการดาเนินงานในการขับเคลื่อนคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.)
เมื่อโรงพยาบาลจะเข้าสู่การ Re-Accreditation ครั้งที่ 3 โรงพยาบาลจะต้องมีระดับการพัฒนาที่มีความโดดเด่นพร้อมเล่า และมี ผลลัพธ์ดีกว่าค่าเฉลี่ย ซึ่งค่าเฉลี่ยที่ได้จะต้องมีกลุ่มโรงพยาบาลในระดับเดียวกันเปรียบเทียบ ดังนั้น THIP จึงเป็นเคร่ืองมือที่เป็นประโยชน์ในการใช้ เทียบเคียง สามารถเรียนรู้แลกเปล่ียนจาก Best Practice และนามาพัฒนาต่อยอดได้ เป็นการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องตามวงล้อ PDCA โรงพยาบาลจึงสมัครเข้าร่วมโครงการ THIP ตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นมา
ความคาดหวังในการเข้าร่วมโครงการ THIP คือ การมีข้อมูลเปรียบเทียบการพัฒนาว่าโรงพยาบาลเราน้ันเป็นอย่างไร เม่ือเปรียบเทียบกับ โรงพยาบาลอนื่ ในมาตรฐานระดบั เดยี วกนั ในบางตวั ชวี้ ดั ทเ่ี ราคดิ วา่ ดแี ลว้ แตเ่ มอื่ นา ขอ้ มลู มาเปรยี บเทยี บแลว้ เรายงั อยใู่ นระดบั ทด่ี อี ยอู่ กี หรอื ไม่ และ ท่ีสาคัญคือการได้เพื่อนในเครือข่าย ร่วมเรียนรู้จากการพบปะพูดคุยมาพัฒนาต่อยอดต่อไปได้ จากตัวชี้วัด THIP ทั้ง 4 กลุ่ม ทีมได้เลือกตัวชี้วัดที่ตรง กับบริบทของโรงพยาบาลทั้งหมด 91 ตัวชี้วัด (KPI)
การเก็บข้อมูลตัวชี้วัดจานวน 91 ตัว ต้องอาศัยการพูดคุยและเตรียมการเก็บข้อมูลไว้ก่อนเป็นสาคัญ โดยขั้นตอนการทางานจะต้องมีการ กาหนดเป้าหมายร่วมกันในทุกระดับ การคัดเลือกตัวช้ีวัดที่เหมาะสมทั้งที่มีอยู่และยังไม่มี มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันในทีม การกาหนดเจ้าภาพ ผรู้ บั ผดิ ชอบการเกบ็ ตวั ชว้ี ดั การเตรยี มตวั และพดู คยุ ตกลงกนั ในการทา งานกนั และสงิ่ สา คญั คอื การสรา้ งความเขา้ ใจในการเกบ็ ตวั ชวี้ ดั และการทา งาน
การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นชัดเจนหลังจากการเข้าร่วมโครงการ คือ การติดตามและรวบรวมข้อมูลตัวชี้วัดได้รวดเร็วมากขึ้น เป็นการ ดาเนินงานเชิงนโยบายจึงทาให้ทุกคนท่ีเกี่ยวข้องกับตัวช้ีวัดส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบและส่งข้อมูลตัวชี้วัดได้รวดเร็วต่างจากเดิมที่ต้องตามตัวชี้วัดหลาย ครั้งในแต่ละรอบ นอกจากนี้ยังสามารถนาข้อมูลผลลัพธ์ที่ได้นั้นมาปรับใช้ได้รวดเร็วขึ้นเช่นกัน ในโปรแกรม THIP น้ันเม่ือลงข้อมูลแล้วโปรแกรมจะ ประมวลผลให้สามารถมองเห็นระดับการปฏิบัติได้ชัดเจนทันทีตามสีที่ปรากฎในระบบ (เขียว เหลือง ส้ม แดง) ซ่ึงสามารถสะท้อนข้อมูลกลับไปยัง ผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานต่อไป
ในโปรแกรม THIP นน้ั Run chart จะปรากฏหลงั จากกรอกขอ้ มลู ทา ใหส้ ามารถตดิ ตามขอ้ มลู ไดต้ อ่ เนอ่ื ง นา มาใชไ้ ดง้ า่ ยขนึ้ และ Monitor ผลลัพธ์ได้ดีข้ึน ตัวอย่างการนา Run chart มาใช้ประโยชน์ เช่น
• ระยะเวลาเฉล่ียของเวลาท่ีผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันได้รับการทําา EKG เม่ือมาถึงโรงพยาบาล (DH0108 : AMI : average door to EKG time) ข้อมูลท่ีผ่านมาของโรงพยาบาลปกติอยู่ในช่วง 1SD ต่อมามีการพุ่งข้ึนของข้อมูลใน Run chart ทาให้สามารถรับรู้ และตอบสนองต่อปัญหาได้ทันที ท้ังทีม PCT และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงมีการประชุมเพื่อทบทวนและพัฒนาแนวทางการซักประวัติคัดกรองความ เส่ียงในผู้ป่วยนอกทุกรายท่ีเป็นเบาหวานและโรคหัวใจว่ามีอาการเจ็บหน้าอกหรือไม่ เป็นการช่วย Early Detection อาการของผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บ แน่นหน้าอกได้เร็วมากขึ้น ส่งผลต่อการวินิจฉัยโรคและการรักษากล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันได้รวดเร็วมากข้ึน
• อัตราผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่ได้รับ Fibrinolytic Agent ภายใน 30 นาทีเมื่อมาถึงโรงพยาบาล (DH0113 : AMI : time to fibrinolytic agents administration) โดยการให้ Streptokinase (SK) ในโรงพยาบาลชุมชนต้องผ่านระบบ Consult อายุแพทย์โรคหัวใจ ก่อนการให้ยา เมื่อใช้ Run chart ในการติดตาม พบว่าแนวโน้มการเปล่ียนแปลงเริ่มต่าลง จึงมีการประชุมพูดคุยร่วมกับทีมในโรงพยาบาลจังหวัด หลังจากประชมุ พบสาเหตจุ ากผ้ปู ว่ ยกล่มุ นนั้ อาการแสดงไมช่ ัดเจน และไมส่ ามารถให้ยาSK ได้ จึงมีการกาหนดแนวทางและการให้คาปรึกษา โดยให้ แพทย์ รพช.ทา EKG ซ้า หรือทา Echo ซึ่งได้รับการฝึกสอนจากอายุรแพทย์โรคหัวใจ และติดตามรายงานอาการเป็นระยะ ซึ่งในบางรายก็ไม่สามารถ ให้ยาได้ จึงทาให้ตัวช้ีวัดดังกล่าวในภาพรวมไม่ผ่านเกณฑ์ แต่ก็ทาให้ทราบว่าสถานการณ์เป็นอย่างไรและเรากาลังทาอะไรอยู่ ในส่วนของข้อมูลที่เก็บ แยกเฉพาะรายที่ไม่มีภาวะอื่นร่วมด้วยนั้นยังผ่านเกณฑ์ (27นาที)
การใช้ประโยชน์ในการเทียบเคียงกับโรงพยาบาลอ่ืนๆ ที่อยู่ในระดับเดียวกัน เราสามารถเห็นข้อมูลดังกล่าวหลังจากคีย์ข้อมูลเข้าระบบ เช่น ตัวชี้วัดของโรงพยาบาลหนึ่งที่อยู่ในระดับ F เดียวกันมีอยู่ 7แห่ง จะสามารถเห็นผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไร เห็นข้อมูลของโรงพยาบาลเราว่าอยู่ใน ระดับใด หากต้องการตั้งเป้าหมายให้ผลงานอยู่ในระดับ Scoring 4 ผลงานนั้นควรอยู่ในระดับที่มากกว่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 75 ซ่ึงปัจจุบันยังทาได้ไม่ ถึง จึงเป็นความท้าทายและโอกาสพัฒนาของโรงพยาบาลขุนหาญ
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   462






















































































   460   461   462   463   464