Page 464 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 464
A3-107
19th HA National Forum
ระบบสารสนเทศสามารถช่วยลดภาระงานและความผิดพลาดในการเก็บข้อมูล เช่น ข้อมูลตัวหารท่ีใช้ร่วมกันหลายหน่วยงาน ทางสานัก สถิติฯจะรับผิดชอบเก็บข้อมูลให้ ส่วนข้อมูลตัวตั้งทางหน่วยงานหรือ PCT จะรับผิดชอบเอง จากนั้นจึงกําาหนด Template ในการส่งข้อมูล โดยรับข้อมูลผ่านไฟล์ทางอีเมลเท่านั้น สานักสถิติทางการแพทย์จะ Copy & Paste เพื่อลดความผิดพลาดการคัดลอก เมื่อเข้าใจขั้นตอนการเก็บและ ส่งข้อมูลแล้ว จึงนัดหมายการส่งข้อมูล ภายในวันท่ี 12 สานักสถิติฯกรอกข้อมูลทุกวันที่ 22 และศูนย์คุณภาพส่งข้อมูลเข้าระบบภายในวันที่ 30 ของ ทุกเดือน เกิดเป็น Flow การทางานในการรวบรวมและรายงานตัวชี้วัด ที่ผ่านมาใช้เวลามาก แต่อยู่บนพื้นฐานการพูดคุยให้เกิดความเข้าใจท่ีตรงกัน วางพื้นฐานให้ดีก่อน แล้วค่อยเก็บข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นในโรงพยาบาล
การเปลี่ยนแปลงด้านระบบงาน
1) เกิดการพัฒนาระบบงาน การเก็บข้อมูลและรายงานตัวช้ีวัดอย่างเป็นรูปธรรมและเป็นระบบอย่างมากสามารถพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2) มีการรายงานตัวชี้วัดตามกาหนดเวลาอย่างชัดเจน
3) การกาหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน สามารถเกิดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
4) เกิดการรวบรวมข้อมูลในภาพรวมโรงพยาบาล ทาให้เห็นผลการดาเนินงานในภาพรวมได้อย่างชัดเจน
5) การตกลงรายละเอยี ดและการตคี วามตวั ชวี้ ดั แตล่ ะตวั ทา ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทม่ี คี วามเทยี่ งตรง และปฏบิ ตั ไิ ปในแนวทางเดยี วกนั มคี วามนา่ เชอื่ ถอื 6) การจัดเวทีทบทวนปัญหาการทางานเป็นระยะ สามารถสื่อสารความเข้าใจและเกิดการพัฒนา
การเปลี่ยนแปลงด้านผลลัพธ์
1) การใช้ประโยชน์จากการเปรียบเทียบตัวชี้วัด: สามารถบอกได้ว่าโรงพยาบาลเราอยู่ตรงไหน เม่ือเทียบกับโรงพยาบาลในระดับเดียวกัน
และสามารถใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู กระตนุ้ การพฒั นาคณุ ภาพได้ ในเรอื่ งทไ่ี มบ่ รรลเุ ราสามารถเรยี นรจู้ ากโรงพยาบาลอนื่ ทเี่ กดิ ผลลพั ธท์ ดี่ ี (best practice) และ ยังเป็นแรงกระตุ้นการพัฒนาให้เพิ่มขึ้น ต่อเนื่อง และมีเป้าหมายชัดเจน ซึ่งจากเดิมคิดว่าเราทาได้ดีอยู่แล้ว ยังสามารถขยายผลการวิเคราะห์ทบทวน สู่การปรับปรุงระบบงาน
2) การใช้ประโยชน์จาก Control Chart: เม่ือเก็บข้อมูลเกิน 12 จุด ระบบจะแสดงผลใน Control Chart ซ่ึงเป็นตัวกระตุ้นที่ดีในการดูแนว โน้มการเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ท่ีเกิดข้ึน และสามารถปรับปรุงพัฒนาได้เร็วข้ึน เช่น หากพบการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติเกิดขึ้นใน Control Chart เป็น Spike ทา ใหต้ อ้ งวเิ คราะหป์ ญั หาวา่ เกดิ อะไรขน้ึ ในชว่ งเวลานนั้ เชน่ อตั ราการผา่ ตดั ซา้ ทสี่ งู ขนึ้ นา มาวเิ คราะหห์ าสาเหตแุ ละวางแนวทางการปอ้ งกนั ได้
ข้อจําากัดของการใช้ข้อมูลของโครงการ เช่น
1) ดัชนีชี้วัดบางตัว (KPI template & dictionary) ยังไม่น่ิง ยังมีข้อผิดพลาดและปัญหาการตีความ
2) แตล่ ะโรงพยาบาลยงั มคี วามเขา้ ใจไมต่ รงกนั อาจทา ใหข้ อ้ มลู มคี วามคลาดเคลอื่ น แตเ่ มอื่ ทบทวนและพดู คยุ กนั กส็ ามารถเขา้ ใจไดต้ รงกนั 3) การแสดงข้อมูลของระบบบางครั้งยังมี Error
4) ในบางตัวช้ีวัดยังไม่มีการเปรียบเทียบ (ไม่มีคู่เทียบในกลุ่มเดิม) แต่เมื่อปรับกลุ่มใหม่ก็สามารถเทียบได้
5) ระบบรายงาน iAnalysis ยังเข้าใจยากและใช้เวลา
6) สีและรูปแบบของกราฟยังไม่แตกต่างกัน ทาให้ต้องดึงข้อมูลออกมาทากราฟใหม่เวลานาไปใช้งาน
7) ตัวชี้วัดบางตัวในโครงการ ยังไม่สามารถนามาเป็นข้อมูลเพื่อพัฒนาได้ แต่ต้องเก็บตามข้อกาหนดโครงการ
8) ผู้ประสานงานมีการเปลี่ยนแปลง
โอกาสในการพัฒนาของโรงพยาบาล ได้แก่
1) ปัญหาการเปลี่ยนตัวผู้ประสานงานตัวช้ีวัด เกิดความคลาดเคลื่อนในการสื่อสารความเข้าใจ
2) การคัดเลือกตัวชี้วัดให้เหมาะสมและสามารถผลการดาเนินงาน
3) การเปรียบเทียบกลุ่มให้เหมาะสมกับศักยภาพ
4) การเรียนรู้การใช้ข้อมูลที่มีและเหมาะสม
5) การใช้ Control Chart
6) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงระบบ
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 464