Page 465 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 465
A3-107
19th HA National Forum
พญ.รัชพร ทวีรุจจนะ
ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ คณะแพทยศาสตร์ มศว. เป็นโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ระดับตติยภูมิ ขนาด 500 เตียง ปัจจุบันเปิดให้ บริการ 388 เตียง และอยู่ในเขตบริการสุขภาพท่ี 4 เปิดหลักสูตรฝึกอบรมนักศึกษาแพทย์ และแพทย์ประจาบ้าน
ปญั หาทพ่ี บเกย่ี วกบั ตวั ชวี้ ดั ไดแ้ ก่ เกบ็ ตวั ชวี้ ดั แตไ่ มไ่ ดน้ า มาใช้ แนวโนม้ จา นวนเพมิ่ ขนึ้ ทกุ ปี (THIP, UHosNet, Clinical Tracer, 2P Safety, RM และอ่ืนๆ) เกิดภาระงานจากการเก็บตัวชี้วัด และ KPI ไม่ตรงกับยุทธศาสตร์และแนวทางของโรงพยาบาล จากปัญหาที่พบน้ันสอดคล้องกับผล การประเมินในโครงการ Engagement for patient safety ในส่วนผลการวินิจฉัยองค์กรจากเคร่ืองมือ 9Cells ในปี 2558 และ 2559 พบว่า ใน ส่วนของเป้าหมายของโรงพยาบาลติดสีเหลือง พบว่าขาดการส่ือสารกับทีมทุกระดับ (เป้าหมายและยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาลคืออะไร) ในปี 2560 จึงมุ่งเน้นเร่ืองการสื่อสารและปรับเป้าหมายให้ชัดเจนขึ้น จนสามารถอยู่ในระดับสีเขียวได้
แนวทางการพัฒนา อาศัยหลัก “คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม”
ประโยชน์ของตัวชี้วัด (คุณค่าของตัวช้ีวัด)
ใช้ในการติดตามผลการดาเนินงาน (Monitor) และใช้ในการประเมินผลการทางาน (Evaluation) ในองค์กรว่าดีจริงหรือไม่ รวมถึงการ Benchmark ทที่ า ใหไ้ ดท้ ราบวา่ เราอยตู่ รงไหนเมอื่ เปรยี บเทยี บกบั หนว่ ยงานอนื่ (เราทา ไดด้ ?ี มคี นทที่ า ไดด้ กี วา่ ? เราสามารถไปยงั จดุ ทดี่ ขี นึ้ ได้ ชนื่ ชม กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาที่ดีข้ึน ซ่ึงเป็นการสร้างกาลังใจให้ทีมในการทางาน)
ส่ิงสาคัญท่ีทาให้ทีมและบุคลากรเห็นคุณค่าได้จริง คือ ทีมบริหารหรือทีมนําาจะต้องให้ความสําาคัญ ส่งเสริมในทุกๆ ด้าน และต้องติดตาม ตัวชี้วัดอย่างต่อเน่ือง
ขั้นตอนการใช้ตัวชี้วัด : ประกอบด้วย 8 ข้ันตอน โดยมีคณะกรรมการข้อมูลตัวชี้วัดเพื่อการบริหารโรงพยาบาล เป็นทีมท่ีติดตามตัวช้ีวัดอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงผู้อานวยการเป็นประธาน
การเลือกตัวชี้วัด>>การศึกษา KPI Dictionary>>การเก็บข้อมูล>>ทีมทบทวนความถูกต้อง >>รายงานผลเข้าระบบ >>ข้อมูลและกราฟ
ส่งให้ทีม>>ทีมทบทวนวิเคราะห์>>นาเสนอในที่ประชุม
1. การเลือกตัวชี้วัด : โดยสอบถามทีมนาทางคลินิก ระบบงานสาคัญและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เน้นเลือกตัวช้ีวัดที่ Key process และ
Outcome ท่ีสาคัญ อาศัยการพิจารณาตามยุทธศาสตร์ (เช่น excellence center/UHosNet) กลุ่มโรคสาคัญของทีมนา ระบบงานสาคัญ หน่วย งานสนับสนุน จากนั้นกาหนดหน่วยงาน/บุคลากรท่ีรับผิดชอบ และประชุมคณะกรรมการเพื่อสรุปการส่งข้อมูล
2. การศึกษา KPI dictionary : ส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทบทวนและเตรียมเก็บข้อมูล
3. การเก็บข้อมูล : ประสานการทางานร่วมกัน คือ Data Center (ช่วยดึงข้อมูลส่งให้แก่ทีมเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล) งานควบคุมรหัสโรค (ช่วย กาหนดรหัสโรคที่ใช้และตาแหน่งในการดึงข้อมูลในระบบ) งานพัฒนาคุณภาพ (ประสานส่งข้อมูล) งานเวชระเบียน (ค้นเวชระเบียนส่งทีมทบทวน) โดยมีการทาPDCA ร่วมกันและติดตามผลในการประชุมทุกเดือน
4. ทีมทบทวนความถูกต้องของข้อมูล
5. การรายงานข้อมูลเข้าระบบ โดยทีมพัฒนาคุณภาพกรอกข้อมูลให้
6. ข้อมูลและกราฟส่งให้ทีม : ทีมพัฒนาคุณภาพเข้าไปช่วยทาให้และส่งสื่อสารกลับให้ทีม ในรูปแบบ Excel เป็นรายเดือน/รายไตรมาส/
รายปี ซึ่งมีทั้งข้อมูลตัวชี้วัดเปรียบเทียบ Run chart รวมถึงให้มีการตอบกลับเก่ียวกับผลการทบทวนตัวช้ีวัด ซึ่งมีการพูดคุย ส่งเสริมความเข้าใจและ การวิเคราะห์เพ่ือนาไปใช้ประโยชน์เกี่ยวกับข้อมูลตัวชี้วัดก่อน โดยจัด Focus group นาผลไปให้ทีมดูก่อน เช่นรายทีมCLT หรือท่ีหน้างาน มีการ ชื่นชมส่งเสริมการวิเคราะห์ผล และหาแนวทางพัฒนา โดยทีมบริหาร และทีม IS เข้าร่วมเย่ียมพูดคุย
7. ทีมทบทวนวิเคราะห์ : ทีมนาและหน่วยงานทบทวนร่วมกัน หรือระหว่างหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยใช้เคร่ืองมือคุณภาพ เช่น ทีม เชญิ หนว่ ยงานรว่ ม PDSA KM Lean ผลทไี่ ด้ คอื เกดิ ทมี สหสาขาวชิ าชพี ทชี่ ดั เจนขนึ้ เกดิ นวตั กรรม ปรบั ปรงุ และพฒั นา CPG หรอื Tracer จนสามารถ เกิดการพัฒนาระบบงานหรือกระบวนการการดูแลผู้ป่วยที่ดีข้ึน และเกิดคุณธรรมในการดูแลผู้ป่วย เช่น การจัดทา CPG flow & CPG การดูแลผู้ป่วย COPD: เลือกKPI: Readmit in 28 days ในการส่งข้อมูลรายงาน (THIP เลือกรายงานเฉพาะตัวช้ีวัดระดับโรงพยาบาล ระดับ CLT ระดับหน่วยงาน และระดับบุคลากรเท่านั้น ที่เป็นการวัด Key process และ outcome) แต่ยังมีการเก็บKPIย่อยท่ีสะท้อนผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย เช่น ร้อยละผู้ป่วย ท่ีปฏิบัติตัวถูกต้องและร้อยละผู้ป่วยที่ใช้ยาได้ถูกต้อง เป็นต้น ส่งผลให้ Readmit และอัตราการเสียชีวิตลดลง
465 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)