Page 476 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 476

B2-107
19th HA National Forum
  พ.อ.ทพ.มารวย ส่งทานินทร
บุคคลท่ีเป็นผู้ให้น้ันต้องเป็นคนที่มีคุณธรรม ให้ส่ิงที่มีคุณภาพและมีคุณค่า เช่นเดียวกับการถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ท่ีนามาบันทึกไว้ ที่ Go to know อันเป็นคลังความรู้ Online ของประเทศไทย และในอนาคตอาจมีเปล่ียนแปลงตามยุคสมัย
ในเรื่องด้านความรู้ เราต้องรู้ Know what คือรู้ว่าอะไร Know how คือรู้ว่าอย่างไร Know why คือรู้ว่าเพราะเหตุใด โดย “รู้ว่าอะไร” คือ รู้ว่าจะต้องดาเนินการอย่างไรเม่ือมีสิ่งเร้า “รู้ว่าอย่างไร” คือ รู้วิธีตัดสินใจในการตอบสนองต่อการกระตุ้นท่ีเหมาะสม ระดับความรู้สูงสุด คือ ความรู้ “รวู้ า่ เพราะเหตใดุ ” ในระดบั นบ้ี คุ คลมคี วามเขา้ ใจอยา่ งลกึ ซง้ึ เกยี่ วกบั ความสมั พนั ธเ์ ชงิ เหตผุ ล การโตต้ อบและระดบั ความไมแ่ นน่ อนทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สง่ิ เรา้
จากการท่ีอาจารย์เป็นผู้ประเมิน TQA ก็จะมี Criteria หรือคาถามในเกณฑ์ พบว่าองค์กรหรือหน่วยงานมักจะอ่านคาถามแล้วตอบแบบ เถรตรงทุกคาถาม โดยไม่รู้เป้าประสงค์ของเกณฑ์ ในหัวข้อนั้นๆ อาจทาให้หลงทางและสูญเสียเวลาที่มีค่าไปโดยใช่เหตุ การอ่านเกณฑ์ให้เข้าใจว่า วัตถุประสงค์ท่ีแท้จริงของเกณฑ์ในหัวข้อนั้นๆ ทาไปทาไม (Why) ซึ่งเป็นมุมมองในภาพใหญ่ จึงจะทาให้การเขียนรายงานหรือการนาไปปฏิบัติและ ปรับปรุงการทางานได้ตรงเป้าหมาย ทาให้องค์กรมีผลประกอบการท่ีเป็นเลิศ
พน้ื ฐานการจดั การความรู้ ตอ้ งมเี ขา้ ใจในกระบวนการและเปา้ ประสงค์ เพราะการจดั การความรู้ คอื การวางแผน การจดั ระเบยี บ การสรา้ ง แรงจงใู จ และการควบคมุ บคุ คล กระบวนการและระบบในองคก์ รเพอื่ ใหม้ นั่ ใจวา่ สนิ ทรพั ยท์ เี่ กยี่ วกบั ความรู้ ไดร้ บั การปรบั ปรงุ และใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ ง มีประสิทธิผล กระบวนการของ KM เกี่ยวข้องกับการได้มา การสร้าง การปรับแต่ง การจัดเก็บ การโอน การแบ่งปัน เป้าประสงคข์อง KM คือ การใช้ประโยชน์และปรับปรุงสินทรัพยค์วามรู้ขององค์กร เพื่อใหเ้กิดผลดีต่อการปฏิบัติงาน ความรู้พฤติกรรมทางธุรกิจที่ดีข้ึน การตัดสินใจที่ดีข้ึน และการปรับปรุงผลงานขององค์กร
การปรับปรุง (Improvements) เป็นพื้นฐานท่ีองคก์รใช้ในการตัดสินคุณค่าของการจัดการความรู้ (KM) และปัจจุบันถ้าจะถามว่าทาไม KM จึงไม่ปัง หรือไม่ได้นาไปใช้ในการปรับปรุงผลงานขององค์กรอย่างกว้างขวางเท่าท่ีควร สามารถแบ่งสาเหตุของการนา KM ไปใช้ได้ 7 หมวด ดังน้ี 1. ด้านวัฒนธรรม (Culture) สามารถจัดกลุ่ม คือ 1) คน 2) ความเป็นมนุษย์ 3) การเปล่ียนแปลง 4) การแบ่งปันและมุมมองด้านคนจะเป็น ส่วนที่ยากสุดของ KM ปัจจุบันนิยมใช้แนวทางการเล่นเกมส์ (Gamification approaches ) เพ่ือมีพัฒนาวัฒนธรรมหรือสนับสนุนคนอย่างช้าๆ ซึ่ง ประเดน็ ทางวฒั นธรรม ไดแ้ ก่ ความไมล่ งรอยกนั ของวฒั นธรรม ไมไ่ ด้ พจิ ารณาวา่ คนงานเปน็ คนทมี่ คี วามรู้ ยากทจี่ ะสรา้ งการแบง่ ปนั ความร/ู้ การสรา้ ง
สภาพแวดล้อม ยากท่ีจะกระตุ้นให้คนแบ่งปันความรู้ การทางานร่วมกันของมนุษย์และการถ่ายทอดความรู้ ทาได้ดีในกลุ่มขนาดเล็กเท่าน้ัน เป็นต้น 2. ด้านการวัดและประโยชน์ (Measurement & benefit) โดยสามารถจัดกลุ่ม คือ 1) เวลา 2) การตอบแทน
3) ผลประโยชน์ เน่ืองจากการจัดการความรู้น้ันยากท่ีจะวัดผล ประโยชนข์อง KM ต้องใช้วลา (องค์กรไม่อดทนพอ) การจัดการความรู้ไม่ใช่
การแก้ไขท่ีรวดเร็ว ต้องใช้เวลามาก ส่วนใหญ่องค์กรมุ่งเน้นการแก้ปัญหาในระยะสั้น
3. ด้านกลยุทธ์ (Strategy) โดยสามารถจัดกลุ่ม คือ 1) ธุรกิจ 2) ยุทธศาสตร์ 3) การเรียนรู้ขององค์กร เนื่องด้วยการจัดการความรู้ถูกมอง
ว่าเป็นส่ิงที่ดีที่ควรจะมี KM และนวัตกรรมจะช่วยให้บริษัทมีความสามารถท่ีแข่งขันได้และไม่ล้มเหลว องคก์รไม่เข้าใจว่าเหตุใดจึงใช้ KM KM ไม่ใช่ สาหรับทุกองคก์รไม่ควรบังคับให้พวกเขาทา ทา KM เพราะเป็นแฟช่ัน และจุดอ่อน คือ KM ไม่ได้รับการกล่าวถึงโดยองคก์รในระดับยุทธศาสตร์ องค์กรส่วนใหญ่ใช ้KM โดยไม่มีกลยุทธ์ KM ท่ีชัดเจน หรือกลยุทธ์ KM ที่ไม่สอดคล้องกับกลยุทธ์ทางธุรกิจ
4. ดา้ นโครงสรา้ งองคก์ ร (Organization structure) โดยสามารถจดั กลมุ่ คอื ก.องคกร์ ข.งาน ค.การดา เนนิ การ ง.การสนบั สนนุ สาเหตจุ าก คนและบรษิ ทั ยงั คงพง่ึ พาและดา เนนิ งานในรปู แบบของอตสุ าหกรรมยคุ เกา่ แผนยทุ ธศาสตรล์ า้ สมยั จา เปน็ ตอ้ งเปลยี่ นแปลง ความพงึ พอใจ แนวทาง ปัจจุบันของ KM ทาให้คนปฏิบัติในรูปแบบที่ไม่ถูกต้อง ผู้นามองหาสภาพเดิมๆ ที่เป็นอยู่มากกว่าการเปลี่ยนแปลง มีข้อสังเกตคือ สิ่งที่ได้ผลสาหรับ KM ในองคกร์ หนงึ่ อาจทา ไดไ้ มด่ ใี นอกี องคก์ รเพราะวฒั นธรรมและบรบิ ททแี่ ตกตา่ งกนั จา เปน็ ตอ้ งมกี ารเปลยี่ นแปลงและมวี ธิ กี ารใหมๆ่ ในการจดั การ
5. ด้านการกากับดูแลและภาวะผู้นา (Governance and leadership) ในท่ีนี้คือประเด็น การจัดการ เพราะ KM มีความเส่ียงเนื่องจากจะ สาเร็จได้ ต้องได้รับการสนับสนุนและกระตุ้นการขับเคลื่อนอยางแรงมาก KM ถูกมอบหมายใหเ้ป็นแผนก KM ที่ไม่ซ้าใคร เพื่อให้เกิดความสาเร็จ และ การดาเนินงาน KM ได้มุ่งเน้นไปที่ความช่วยเหลือจากภายนอก/ที่ปรึกษา มากกว่าการเติบโตจากภายใน และมีการพ่ึงพาที่ปรึกษาอย่างมาก เหล่านี้ จึงเป็นเหตุให้ KM ต้องการกากับดูแลการให้ กาลังใจและการวัดผล KM จึงต้องการรับรู้และรับรองในระดับยุทธศาสตร์มากข้ึน ต้องสร้างเพื่อนและ เป็นพันธมิตรกับกิจกรรมสนับสนุนอ่ืนๆ
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   476



















































































   474   475   476   477   478