Page 477 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 477

B2-107
19th HA National Forum
 6. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT-related issues) สามารถจัดกลุ่ม คือ 1) ระบบ 2) เทคโนโลยี 3) สารสนเทศ 4) เครื่องมือ พบว่า แนวทาง ท่ีเน้นเอกสารเป็นศูนยก์ลางจะไม่เป็นผลสาหรับ KM และสาหตุอื่นๆ คือ จัดทา KM ที่มุ่งเน้นที่เทคโนโลยีมากกว่าคน ผิดหวังในความสามารถด้าน เครื่องมือ IT การให้ความสาคัญกับ KM จะต้องอยู่ในด้านมนุษย์ด้านสังคม ไม่ใช่ด้านเทคโนโลยี ขาดการบูรณาการระหว่างผู้คนและเทคในโลกที่มีอยู่ ดงั นนั้ ถา้ จะทา ใหส้ า เรจ็ ควรมงุ่ เนน้ ดา้ นคน ดา้ นสงั คม และไมม่ ากมายนกั ทจี่ ะเกยี่ วกบั เทคโนโลยี การทา งานรว่ มกนั และการสนบั สนนุ ของเทคโนโลยี ทาให ้KM เร่ิมต้นและเติบโตข้ึนอย่างรวดเร็ว
7. ขาดความเขา้ใจ/มาตรฐานของ KM โดยสามารถจัดกลุ่ม คือ 1) ความรู้(กับสารสนเทศ) 2) ความเข้าใจ จะเห็นว่า “การจัดการกับ ความรู้ (Managing knowledge-MK)” จะเข้าใจได้ง่ายกว่า “การจัดการความรู้ (knowledge management-KM)” ซึ่งทาให้เกิดความสับสนและ การปฏเิ สธ มคี วามสบั สนระหวา่ งสารสนเทศและความรู้ ดงั นนั้ KM ควรตอ้ งมคี วามแมน่ ยา และไดร้ บั การพสิ จู นมา์ กขน้ึ มกี ระบวนการตรวจสอบแบบ ครบวงจรให้เป็นท่ียอมรับได้โดยทั่วไป ควรเร่ิมต้นด้วยการแก้ปัญหาขององค์กรและค้นหาว่า KM ช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ ได้อย่างไร
การที่การจัดการความรู้ (KM) จึงเร่ิมจางหาย ซึ่ง Davenport ได้ให้เหตผุลหลักว่า การเปล่ียนแปลงพฤตกิรรมนั้น เป็นสิ่งท่ียากเกินไป วิธีการเพื่อปรับปรุงการเลื่อนไหลของความรู้ส่วนใหญ่ถูกละเลย ทุกอย่างขึ้นกับเทคโนโลยี ต้องใช้เวลาในการค้นหาและแยกแยะความรู้ (Google ช่วยฆ่า KM) KM ไม่เคยรวมความรู้ที่ได้จากข้อมูลและการวิเคราะห์ จุดเน้นของโครงการท่ีมุ่งเน้นความรู้ได้เปล่ียนไปเป็นการผสมผสานเข้ากับระบบ การตัดสินใจอัตโนมัติ ข้อมูลขนาดใหญ่และการวิเคราะห์ข้อมูล กาลังได้รับการมุ่งเน้นมากขึ้น
ความรู้และทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องความรู้ ต้องมีการออกแบบเพื่อให้การประยุกต์ใช้และผลกระทบออกมาดีท่ีสุด ระบบข่าวกรองการแข่งขัน (Competitiveness Intelligence system -CI) มุ่งเน้นการสร้างความเข้าใจรวมถึงระบุถึงกลยุทธ์ กลวิธี และกิจกรรมต่างๆ ของคู่แข่ง แม้ว่าจะ เฉพาะเจาะจงสาหรับคู่แข่งหรือเทคโนโลยี แต่ในส่วนของกระบวนการก็เหมือนกันกับ KM แต่ยังมีข้อแตกต่างหลายอย่าง เช่น การดาเนินงานของ CI สนใจในปัจจัยต่างๆ (ข้อมูล สารสนเทศ ความรู้) จากทุกแหล่ง ทั้งภายในและภายนอก การพลาดโอกาสของ KM คือ ไม่ได้เอา Big data มาใช้ ประโยชน์ เนื่องจากแนวโน้มปัจจุบันของข้อมูลขนาดใหญ่และการวิเคราะห์ธุรกิจ (big data and business analytics) ด้วยเหตผุลหลายประการ โครงสร้างของการ วิเคราะห์ธุรกิจคล้ายคลึงกับการปฏิบัติของ CI มากกว่า KM และเป็นการสร้างคุณค่าให้แก่ผู้มีอานาจในการตัดสินใจการดาเนิน งาน CI ที่มีประสิทธิภาพสูง จะใช้ข้อมูลท่ีมีความสาคัญทั้งหมดที่เก่ียวข้องกับความรู้ เพื่อสร้างข่าวกรองที่สามารถดาเนินการได้ รวมถึงข้อมูลเชิงลึก ท่ี “ลึกลับ (uncanny)”
ดร.จันทวรรณ ปิยะวัฒน์
GotoKnow.org พัฒนาโดย ดร.จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ และ ผศ.ดร.ธวัชชัย ปิยะวัฒน์ เปิดให้บริการตั้งแต่วันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 เป็นเว็บไซต์ชุมชนออนไลน์ด้านการจัดการความรู้ของไทยที่ใหญ่ที่สุด และจากการจัดอันดับของศูนย์วิจัยนวัตกรรมอินเทอร์เน็ตไทย (TrueHits. net) พบว่า เป็นเว็บไซต์อันดับหนึ่งด้านการศึกษาของไทย และอยู่ในเว็บอันดับท่ี 35 ของประเทศ เปิดให้บริการโดยไม่คิดค่าใช้จ่ายในการใช้งาน มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นคลังความรู้เชิงประสบการณ์ของคนไทย เป็นพื้นที่ให้คนทางานได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ผ่านเครื่องมือการจัดการ ความรู้ที่ทันสมัยผ่านการเขียนบันทึกลงในบล็อกหรือสมุดบันทึกออนไลน์
ขอ้ มลู สถติ โิ ดย Google Analytics ซงึ่ เวบ็ ไซต์ GotoKnow ไดร้ บั การตดิ ตงั้ เครอ่ื งมอื นไ้ี วใ้ นเวบ็ ไซตม์ าตง้ั แตป่ ี พ.ศ.2548 จนถงึ ปจั จบุ นั พบ ว่าในช่วง 3 เดือน จะมีผู้เข้าใช้งาน จานวน 8.3 ล้านคน เป็นคนหน้าใหม่ 40.94% เป็นผู้ท่ีกลับมาใช้ซ้า 63.08 % เพศชาย 40.37% เพศหญิง 59.63% การศึกษาปริญญาตรี 33.70% รองลงมา คือ มัธยมปลายและ ปวส. 30.74% อายุ 12-17 ปี 29.26% อายุ 18-23 ปี 27.96% โดยส่วนใหญ่เข้าใช้ GotoKnow ผ่านทางการค้นหาใน Google (Organic Search) ส่วนใหญ่ใช้เวลาตอนเที่ยงอยู่ในกรุงเทพฯ ใช้ผ่านมือถือ (Mobile user) 63% กลุ่มที่เป็น user ส่วนใหญ่อายุ 25-34 ปี ในการสร้างเนื้อหาในชุมชนออนไลน์ GotoKnow ส่วนใหญ่อายุ 40 ปี ขึ้นไป ผู้ชายจะใช้
มากกว่าผู้หญิง เป็นกลุ่มข้าราชการ พนักงานของหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะอาชีพทางการศึกษา การแพทย์ การพยาบาล คนทางานเพ่ือ สังคม ขับเคลื่อนรณรงค์ และสื่อภาคประชาชน องค์กรส่วนใหญ่มาจากโรงเรียน 62.9%
ปัจจุบัน GotoKnow มีสมาชิกประมาณ 2 แสนคน มีบันทึกประมาณ 6 แสนรายการ มีความเห็นประมาณ 3 ล้านรายการ มีไฟล์ท่ีอัพโหลด ขึ้นมาประมาณ 1 ล้านรายการ และมีคาสาคัญหรือคาค้นมากถึงกว่า 5 แสนคา และพบว่าในแต่ละปีมีผู้เข้าใช้งานโดยเฉลี่ย 26 ล้านคน เป็นจานวน 54 ล้านครั้ง และมีจานวนหน้าเพจที่ถูกเข้าใช้งานถึง 81 ล้านหน้า อีกท้ังมีอัตราการเข้าใช้และออกทันทีในหน้าแรกที่เข้าถึง หรือ Bounce Rate ลดลงอยา่ งชดั เจน และจา นวนหนา้ เฉลยี่ ทเี่ ขา้ ใชแ้ ละระยะเวลาเฉลย่ี ทอี่ ยใู่ นเวบ็ ไซตเ์ พมิ่ มากขนึ้ แมอ้ ตั ราการเจรญิ เตบิ โตในการใชง้ าน GotoKnow.org จะมีเพ่ิมมากข้ึน อย่างไรก็ตามปริมาณผู้ใช้เก่าท่ีกลับมาใช้ซ้ายังมีน้อยกว่าผู้ใช้รายใหม่
 477   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)























































































   475   476   477   478   479