Page 509 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 509

A4-108-109
19th HA National Forum
 คุณภาพอากาศและคุณภาพสง่ิแวดล้อมภายในอาคาร
1. อุณหภูมิ ท่ีเหมาะแก่การทางานคือ 23-25 C ปัจจุบันมีค่าที่สูงขึ้น ซ่ึงเป็นต้นเหตุของการเกิดของเชื้อโรค ความชื้นสัมพัทธ์ 30-60% RH ถ้าสูงกว่า 60 เชื้อโรคจะเจริญเติบโตได้ง่าย และหากน้อยกว่า 30 คืออากาศแห้ง จะมีผลต่อลมหายใจ ทาให้เกิดอาการแสบจมูกได้ และความเร็ว ลม (การไหลของอากาศ) ไม่เกิน 30 ฟุต/นาที ในฤดูหนาว และ 50 ฟุต/นาที ในฤดูร้อน
2. ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ เกิดจากการเผาไหม้ของคาร์บอนที่เผาไม่หมด เช่น จากเครื่องยนต์
• OSHA กาหนดค่าความเข้มข้นที่ยอมรับได้สูงสุด (TLVs) ของก๊าซ CO สาหรับการทางาน 8 ช่ัวโมง ไว้ที่ 50 ppm
• NIOSH กาหนดระดับที่ยอมรับได้ในการสัมผัสก๊าซ CO จากการทางาน (REL) ในเวลา 10 ชั่วโมง ไว้ที่ 35 ppm
• ACGIH กาหนดค่า TLVs ของก๊าซ CO สาหรับการทางาน 8 ช่ัวโมง ไว้ที่ 25 ppm
• EPA แนะนาระดับก๊าซ CO ในบรรยากาศโดยทั่วไปไม่เป็นอันตรายสาหรับประชาชน ไว้ที่ไม่เกิ 9 ppm ในเวลา 8 ชั่วโมง และไม่เกิน 35
ppm ในเวลา 1 ชั่วโมง
3. ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
• CO2 มีระดับความเข้มข้นมากเกิน 1,000 ppm หรือ 1,800 mg/m3 จะส่งผลต่อความรู้สึกสบายในการทางาน
• OSHA, NIOSH และ ACGIH กาหนด ค่า TLVs ของก๊าซ CO2 สาหรับการทางาน 8 ชั่วโมง ไว้ท่ี 5,000 ppm ค่าความเข้มข้นเฉล่ียของ ก๊าซ CO2 ท่ีสัมผัสได้ไม่เกิน 15 นาที (STEL) ไว้ที่ 30,000 ppm
4. อนุภาคท่ีเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจส่วนล่างได้ (Respirable Particulates)
• ควันต่างๆ เส้นใยวัสดุ ผ้า เคร่ืองถ่ายเอกสาร ผงหมึกเคร่ืองพิมพ์ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทางานเก่ียวกับ ภาวะแวดล้อม (สารเคมี) พ.ศ.2520 ที่กาหนดว่า
• ค่ามาตรฐานฝุ่นละอองขนาดที่สามารถเข้าถึงสะสมในถุงลมปอดได้ (Respirable Particulates) ไม่เกิน 5 mg/m3 • ค่ามาตรฐานฝุ่นละอองทุกขนาด ไม่เกิน 15 mg/m3
5. จา นวนเชอื้ แบคทเี รยี รวมและเชอื้ รารวมในอากาศ อาคารโรงพยาบาล : ประเดน็ เชอื้ แบคทเี รยี รวมและเชอ้ื รารวมในอากาศเปน็ เรอ่ื งทตี่ อ้ ง ให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก องค์การอนามัยโลก (WHO) กาหนดให้จานวนเชื้อแบคทีเรียรวมในอากาศภายในอาคาร ไม่เกิน 100 โคโลนี/ลูกบาศก์ เมตร (CFU/m3) และจานวนเชื้อรารวมในอากาศ ไม่เกิน 50 โคโลนี/ลูกบาศก์เมตร
6. สารอินทรีย์ระเหย (Volatile Organic Compound : VOC) สารอินทรีย์ระเหยที่พบในอาคารทั่วไปจะมีแหล่งกาเนิดมาจากเครื่องใช้ ต่างๆ ภายในอาคาร น้ายาทาความสะอาดพื้นและสุขภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์สานักงาน น้ายาเคมีท่ีใช้ในห้องปฏิบัติการ ห้องปรุงยา เช่น อะซิโตนในห้อง ปฏิบัติการจุลชีววิทยา ไซลีนในห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ชิ้นเนื้อ ฟอร์มาลดีไฮด์ในห้องปรุงยา และห้องนิรมัย (ห้องเก็บศพ)
7. แสงสวา่ ง ทเี่ พยี งพอชว่ ยใหส้ งิ่ แวดลอ้ มดขี นึ้ หากมดื เกนิ ไปอาจมองไมเ่ หน็ เชอื้ รา ซงึ่ สมาคมแสงสวา่ งแหง่ ประเทศไทยไดก้ า หนดคา่ ความ เฉล่ียความเข้มแสง ณ บริเวณต่างๆ ของอาคารท่ัวไปและอาคารโรงพยาบาล
8. เสยี ง ระดบั เสยี งในอาคารเปน็ อกี หนงึ่ ประเดน็ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มในอาคารทตี่ อ้ งใหค้ วามสา คญั เนอื่ งจากเสยี งเปน็ ปจั จยั ทมี่ ผี ลโดยตรง ต่อสุขภาพอนามัยและสมาธิในการทางานของผู้ใช้อาคาร โดยทั่วไปการกาหนดระดับเสียงในท่ีทางานจะยึดตามกฎกระทรวงแรงงาน เร่ืองกาหนด มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเก่ียวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2549 ที่กาหนดให้ระดับเสียงเฉลี่ยตลอดระยะเวลาในการทางาน (TWA) 8 ชั่วโมง ต้องไม่เกิน 90 เดซิเบลเอ
 509   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)














































































   507   508   509   510   511