Page 517 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 517
B1-108-109
19th HA National Forum
5. จัดทาข้อมูลข่าวสาร และชุดข้อมูลความรู้ต่างๆ เผยแพร่ในหลากหลายช่องทาง เช่น website Facebook e-leaning ผ่าน youtube line การทา KM เป็นต้น รพ.สามารถเข้าถึงแหล่งความรู้นี้ได้ง่ายขึ้น
6. จัดทาแนวทางการปฏิบัติงาน โดยได้รับความร่วมมือจากผู้เชี่ยวชาญร่วมกันจัดทาและสามารถใช้อ้างอิงในระดับประเทศ ซึ่งจะออกมา เผยแพร่ในเดือนสิงหาคมปี2561 นี้ เพื่อสร้างแนวทางการปฏิบัติที่เป็นแนวทางเดียวกัน
7. มีแผนจัดทาหลักสูตร CSSD Manager สาหรับระดับหัวหน้างาน ในปี 2018
สิ่งท่ีเป็นเป้าหมายต่อไป คือ การสร้างจิตสานึกคุณภาพให้อยู่ใน Mindset ของผู้ปฏิบัติงาน CSSD ทุกคน เพื่อให้เกิดคุณค่าของงาน งานมีคุณภาพได้มาตรฐาน ผู้ป่วยปลอดภัย
เอ้ืองพร เผ่าเจริญ
นาประสบการณ์ 8 ปีของการทางานเป็นหัวหน้างาน CSSD สู่เส้นทางความเป็นเลิศ APSIC CSSD Center of Excellent กับบทเรียน เร่ือง Facility Design รพ.จุฬาลงกรณ์ เร่ิมต้นจากการล้างเครื่องมือ ด้วย Manual cleaning และจัดพ้ืนที่เป็น 3 zone แต่จากการเรียนรู้พบว่า design ดอี ยา่ งไร แตถ่ า้ การควบคมุ กระบวนการและการปฏบิ ตั ติ ามแนวทาง หรอื มาตรฐานของคนไมไ่ ด้ กจ็ ะไมเ่ กดิ ประโยชน์ การมคี วามรอู้ ยา่ งเดยี ว ไม่เพียงพอ ต้องลงมือปฏิบัติในบทบาทหน้าที่ของตนเองอย่างเต็มที่ เมื่อนั้นคุณภาพจะเกิดขึ้นในงานที่เราทา
การออกแบบพื้ นท่ีปฏิบัติงานต้องคิดถึงอะไรบ้าง
1. Objective of Department: บริบทของโรงพยาบาล บริบทจะเป็นตัวกาหนดการออกแบบพื้นที่ ทางเข้าออก
การวางผงั ของลฟิ ทข์ นสง่ ประเภทตา่ งๆ กรณที อี่ อกแบบไมเ่ ปน็ ไปตามบรบิ ท ตอ้ งมกี ารตดิ ตาม กา กบั ดแู ล กระบวนการเพอื่ ใหไ้ ดม้ าตรฐาน ลดการปนเปอ้ื น ลดการแพรก่ ระจายเชอ้ื ใหม้ ากทส่ี ดุ มเิ ชน่ นนั้ จะเกดิ “ขลกุ ขลกิ zone” บรบิ ททตี่ อ้ งนา มาวเิ คราะหแ์ ละรว่ มในการพจิ ารณาออกแบบ เช่น เป็นศูนย์กลางหรือไม่ เรามีขอบเขตหน้าที่แค่ไหน ระบบงานเป็นอย่างไร ตั้งรับ หรือต้องเชิงรุกออกไปจัดเก็บ ไปส่งเครื่องมือ คานึงถึงขั้นตอนการ ทางานให้ครอบคลุม ต้ังแต่ต้นทาง และมองพ้ืนท่ีส่วนอื่นๆ ด้วย เช่น พ้ืนที่การเปลี่ยนเสื้อผ้า ห้องน้า ห้องพักเจ้าหน้าที่ ห้องสานักงาน พ้ืนที่ติดต่อ กับบุคคลภายนอก
2. Proper equipment location พื้นที่ถูกเตรียมความพร้อมในการรองรับน้าหนักเครื่องขนาดใหญ่ไว้หรือไม่ ควรมีโอกาสในการร่วม ออกแบบกับทีมท่ีเกี่ยวข้องตั้งแต่แรกที่มีการร่างกาหนดคุณสมบัติของพื้นที่หน่วยงาน
3. Expansion: จะมีการขยายงานในอนาคตหรือไม่ เพ่ือเตรียมพื้นที่รองรับไว้แต่แรก
4. การกาหนดมาตรฐานอ้างอิง เช่น HVAC ควรพิจารณามาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่ง เช่น AAMI หรือ ASHRAE อย่างใดอย่างหน่ึง
5. การออกแบบพ้ืนที่ดี จะส่งผลต่อกระบวนการทางานท่ีดี ถ้าการออกแบบมี pitfall ต้องมีการดูแลและกากับติดตามกระบวนการให้เป็น
ไปตามมาตรฐาน ต้องใช้แนวคิด Process management ร่วมด้วย
6. ต้องมีความปลอดภัย ทั้งต่อผู้ปฏิบัติงาน และสิ่งแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด เช่น การระบายแก๊ส ต่างๆ
7. ถ้าสามารถรวมศูนย์ได้ดี แต่ถ้าแยกจัดการต้องเป็นมาตรฐานเดียวกันทุกที่
8. ควรกาหนดพ้ืนที่ให้เพียงพอ เหมาะสม ตามบริบทหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงาน
9 . ร ะ บ บ ก า ร ค ว บ ค มุ ค ณุ ภ า พ อ า ก า ศ H V A C ร ะ บ บ น า้ ร ะ บ บ ไ อ น า ้ ภ า ย ใ น ห ร อื ภ า ย น อ ก ต อ้ ง ต ดิ ต ง้ ั B o i l e r ห ร อื ไ ม ่ อ ย า่ ง ไ ร ต อ้ ง ม กี า ร ว า ง แ ผ น
อย่างดีเพราะมีส่วนที่เก่ียวข้องหลายส่วน ทั้งไฟฟ้า น้าประปา เป็นต้น ถ้ามีโอกาสในการสร้างหรือปรับปรุงพื้นท่ีหน่วยงานใหม่ ประเด็นเหล่าน้ีควร มีการพิจารณาเพื่อใช้ในการออกแบบ
พื้ นท่ีนอกจากจะได้มาตรฐานแล้วยังตอบสนองตามบริบทของงานเป็นอย่างดี
ประสบการณ์การก้าวนาหน่วยงาน CSSD สู่เส้นทางความเป็นเลิศ APSIC CSSD Center of Excellence จากวิสัยทัศน์ของโรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ จะเป็นโรงพยาบาลที่เป็นแบบอย่างด้านคุณธรรม และให้บริการด้วยคุณภาพตามมาตรฐานสากล เราจึงกลับมาทบทวนตนเองว่าการ ทางานของ CSSD มาตรฐานอยู่ตรงไหน การส่งมอบคุณค่า คุณภาพ ความปลอดภัย ให้ผู้ป่วย คือการทางานตามมาตรฐาน จึงกาหนด VISION: หน่วยจ่ายกลางจะเป็นศูนย์กลางการทาให้ปราศจากเชื้อครบวงจรให้ได้มาตรฐานระดับนานาชาติ ในปี 2016 เป็นทิศทางในการก้าวเดิน และใช้ APSIC Standard มาเป็นเคร่ืองมือในการประเมินตนเอง ทาให้เรามีการพัฒนา ปรับปรุง แก้ไขปัญหา เพื่อไปถึงเป้าหมาย Center of Excellence
517 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)