Page 527 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 527
B3-108-109
มาตรฐานการออกแบบโรงพยาบาล จากประสบการณ์ฝร่งั EBD : Evidence Based Design for Healthcare Facilities
ถ้อยคา
ท่ีเป็นแรงบันดาลใจของเร่ือง
เมือ่ เทียบกับมาตรฐานทางด้านกายภาพของโรงพยาบาล ทเี่ ป็นสากลนิยมท้งั JCI และ Evidence Based Design ทีก่ าหนดว่าอาคารของโรงพยาบาลไม่ควรมีความสูงเกิน 6 ช้นั จึงพบว่าโรงพยาบาลในประเทศไทยยังค่อนข้างอันตรายมาก ส่วนหนงึ่ เนือ่ งจากทีด่ ินมีราคา สูงและค่าก่อสร้างถูกกว่ามาก เมอื่ เทียบกับมูลค่าทดี่ ิน ดังน้ันการก่อสร้างจึงขนึ้ ไปในแนวด่ิง คือสร้างตึกสูงๆ เช่น อาคารภูมิสิริมังคลานุสรณ์ของโรงพยาบาลจุฬาฯ ทมี่ ีความสูงถึง 29 ช้ัน ในขณะทรี่ ะบบรองรับความปลอดภัยกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินยังต้องมีการพั ฒนาให้ได้ ตามมาตรฐาน เช่น กรณีไฟไหม้ทีอ่ าคารต้องมี Fire compartment ทีด่ ี การขนย้ายผู้ปว่ ย เมือ่ เกิดเพลิงไหม้จานวนผู้ปว่ ยทีต่ ้องขนย้าย และจานวนลิฟท์ควรเป็นสัดส่วนทีเ่ หมาะสมกัน
วิทยากร
ผู้ถอดบทเรียน ตําาแหน่ง
วันท่ีและเวลา
บทนา
ดร.ยอดเย่ียม เทพธรานนท์ (บริษัท อินเตอร์แพค)
ศรัญญา อินต๊ะเชี้อ
พยาบาลวิชาชีพชําานาญการ (กลุ่มงานบริหารทั่วไป) โรงพยาบาลลําาปาง
15 มีนาคม 2561 เวลา 13.00 น. - 14.30 น. ห้อง Sapphire 108-109
อันตรายที่สุดของชีวิตคือ “เราไม่รู้ว่า เราไม่รู้อะไร” เพราะหากเรารู้ว่าเราไม่รู้อะไร จะได้มาทาการคัดสรรต่อว่าเรายังควรรู้หรือไม่ในเรื่อง นั้นๆ เพื่อบริหารจัดการอย่างเหมาะสม เช่นคาถามเหล่านี้
1. พยาบาลใช้เวลาในการเดินหาผู้ป่วย มากกว่าเวลาที่คุยกับผู้ป่วยหรือ? 2. พื้นที่ความเสี่ยงสูงในโรงพยาบาลมีที่ใดบ้าง ต้องระวังอย่างไรบ้าง? 3. การมีอ่างล้างมือในห้องผู้ป่วย ดีหรือไม่ดี?
4. การจ่ายยามีความผิดพลาด ทาอย่างไรให้ผิดพลาดน้อยที่สุด?
5. การเตรียมสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้ผู้ป่วยสมองเสื่อมต้องทาอย่างไรบ้าง?