Page 529 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 529

B3-108-109
19th HA National Forum
 3. ใช้แสงธรรมชาติ ซ่ึงมีผลดีต่อสุขภาพมากมาย เช่น ในอเมริกาใช้ “แสงใต้” พระอาทิตย์ขึ้นทางทิศตะวันออก อ้อมไปทางเหนือ และ ตกในทิศตะวันตก ทางทิศใต้แสงจะนวลตา (Indirect light)
4. เฟอร์นิเจอร์ เช่น เลือกรูปแบบของเฟอร์นิเจอร์ให้เหมาะสมกับการใช้งานและสรีระของผู้ใช้งาน โดยมาตรฐานของประเทศไทยต้อง - เลือกที่ไม่มีมุมเหลี่ยม
- นั่งให้นั่งได้และยืนให้ยืนได้ คือ ไม่เตี้ยมาก เพราะจะน่ังได้สบาย และเมื่อจะยืนสามารถชันตัวเองให้ลุกขึ้นมายืนได้
- ต้องแข็งแรง ต้องทาความสะอาดง่าย โดยเฉพาะกรณีใช้กับผู้ป่วยที่เป็นโรคติดต่อ หมายเหตุ : กรณีประเทศไทยมีข้อพึงระมัดระวังซ่ึง EBD ไม่ได้กล่าวถึงเพราะ มีบริบทที่แตกต่างกัน 1. เร่ืองความชื้นมากกว่า 20 % ของหอผู้ป่วยในประเทศไทยมีเช้ือราเกิดขึ้น มาจากส่วนนี้คือ
- หอผู้ป่วยที่มีการติดเครื่องปรับอากาศ และคนเปิดเข้า/ออก บ่อยมากเกินไป จึงเกิดการควบแน่นเป็นไอน้า
- ห้องน้าที่สร้างผนังห้องน้าไม่ติดเพดานจึงมีความชื้นออกมา
- อ่างล้างมือ ของไทยเป็นอ่างสารพัดประโยชน์ท้ังล้างมือ และล้างภาชนะของญาติ จึงเกิดความชื้นขึ้น ประเทศญ่ีปุ่นแก้ไขโดย
ใช้อ่างล้างมือที่มีขนาดเล็กมากๆ มีขนาดเท่าที่จะล้างมือได้เท่านั้น
2. ขนาดทพี่ อเหมาะของประตสู า หรบั ผใู้ ชร้ ถเขน็ ซง่ึ ขนาดทใี่ ชจ้ รงิ คอื 82.5 เซนตเิ มตร แตม่ าตรฐานของ JCI, EBD กา หนดเปน็ 90 เซนตเิ มตร
(เผ่ือวงกบจะอยู่ที่ราว 95 เซนติเมตร) ทาให้ราคาแพงข้ึนราว 15% เพราะมิใช่ขนาดมาตรฐานที่ใช้ทั่วไปในประเทศไทย และหากเป็นอลูมินั่มจะแพง ไปถึง 20% ซึ่งโรงพยาบาลของรัฐจะมีข้อจากัดเรื่องงบประมาณอย่างยิ่ง ดังนั้นจึงต้องมีการทบทวนการใช้มาตรฐานให้เหมาะกับบริบท
การสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการเยียวยา (Healing Environment)
เน่ืองจากระดับความตึงเครียดเพ่ิมข้ึนอย่างมากในคนที่อยู่ในสภาวะ “ป่วย” รวมไปถึงบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ซึ่งอยู่ในสภาวะที่ถูกคาด หวังตลอดเวลา จากเหตุผลต่างๆ เหล่านี้ นามาสู่แนวความคิดว่า การออกแบบสภาพแวดล้อมที่ดี จะเป็นเครื่องมือในการลดความตึงเครียดทั้งในผู้ ป่วย และบุคลากรทางการแพทย์ การนา EBD มาเชื่อมโยงในการสร้างสภาพแวดล้อมเพ่ือการเยียวยานั้น มีเป้าหมายเพ่ือลดสภาวะเครียด ซ่ึงจะ ช่วยลดปัญหาอ่ืนๆ ที่จะตามมา โดยมีแนวคิดเกี่ยวกับสถานพยาบาล ว่าเป็นสถานที่ท่ีไม่เพียงให้การรักษาโรคเท่าน้ัน แต่เป็นสถานที่ซ่ึงเยียวยา รา่ งกายและจติ ใจใหแ้ กผ่ ปู้ ว่ ย และเมอื่ ใดทผี่ ปู้ ว่ ยกลา่ ววา่ ไดร้ บั การดแู ลเอาใจใสท่ เี่ หนอื ความคาดหมายอยา่ งมากมายจรงิ ๆ เมอ่ื นน้ั กอ็ าจจะมนั่ ใจ ได้ว่าการเตรียมสภาพแวดล้อมเพ่ือการเยียวยานั้น ได้รับการยอมรับและประสบความสาเร็จแล้ว
หลักการสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อการเยียวยา 5 ประการคือ
1. สร้างสภาพแวดล้อมที่ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง (Create a patient and family centered environment) ตัวอย่าง เช่น “บวร” หมายถึง บ้าน วัด โรงเรียน แต่ปัจจุบันนั้นได้มีการปรับตามบริบทเป็น บ้าน วัด โรงพยาบาล เพราะอัตราเจริญพันธุ์ของไทยถดถอยเป็น ปีที่ 14 เด็กเกิดน้อย ในขณะที่สูงอายุเพ่ิมข้ึน และมีอายุยืนข้ึน จึงมีคนในโรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นการสร้างสังคมในโรงพยาบาลจึงเป็นเร่ืองที่ สาคัญ ประกอบกับกระแสที่คนทั้งโลกอยากทาดีเพิ่มขึ้น จึงมีคนทาดีกับชุมชน กับโรงพยาบาล มีอาสาสมัครมาช่วยงานโรงพยาบาลมากมายในรูป ของจิตอาสา จึงมีคาถามสาคัญว่า “เราได้เตรียมพื้นที่สาหรับรองรับคนกลุ่มนี้อย่างไร” และใน EBD ได้กล่าวถึง Plane tree Model ซ่ึงก่อต้ังในปี 1978 ที่รัฐแคลิฟอเนีย โดยผู้ป่วยท่านหนึ่งซึ่งมีประสบการณ์ในโรงพยาบาลอย่างยาวนาน ขณะท่ีเธอเจ็บป่วยอยู่ในโรงพยาบาล Plane tree Model ใช้แนวคิดการรักษาแบบองค์รวมเป็นแนวคิดหลัก ประกอบกับการสร้างสภาพแวดล้อมเพ่ือการเยียวยา และการรักษาโดยผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง องค์ประกอบทางกายภาพที่น่าสนใจ ของ Plane tree model ที่สร้างข้ึนตามแนวคิดการดูแลผู้ป่วยโดยผู้ป่วยและครอบครัวเป็นศูนย์กลาง เช่น
- ห้องสมุดสุขภาพ เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูลทางการแพทย์ และงานวิจัยต่างๆ (ปัจจุบันจะพบห้องสมุดลักษณะน้ีท่ีโถงทางเข้าหลัก ในหลายๆ โรงพยาบาล และบางแห่งก็ได้จัดทา E-libraries เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงได้จากภายในห้องพัก)
- ห้องพระ สถานที่สงบของแต่ละศาสนา
- ห้องครัว ซึ่งผู้ป่วยและญาติสามารถปรุงอาหารได้ ครัวทาให้เกิดความสัมพันธ์ทั้งกับตัวผู้ป่วยด้วยกันเอง และญาติ
2. ปรับปรุงคุณภาพและความปลอดภัยในโรงพยาบาล (Improve the quality and safety of healthcare) เช่น สามารถทาได้ในหลายๆ ส่วน โดยเฉพาะการลดความผิดพลาดทางการแพทย์ เช่น การจ่ายยาผิด พบว่าโรงพยาบาลขนาดใหญ่แห่งหน่ึง
จ่ายยาผิดถึง 4% ซึ่งเกิดจากหลายปัจจัย เช่น แพทย์สั่งผิด พยาบาลอ่านไม่ออกคัดลอกผิด ห้องยาหยิบยาผิด หยิบยาถูกแต่ใส่ซองผิด จ่ายยาผิดคน จึงออกแบบระบบโดยใช้ EBD เช่น ให้แพทย์คีย์ยาใน IPAD เท่าน้ัน และมีระบบท่ีให้ข้อมูลยาน้ันๆ เช่น กลไกการออกฤทธิ์ ผลข้างเคียง และข้อมูล เหลา่ นเ้ี ชอื่ มโยงกบั ขอ้ มลู สว่ นตวั ผปู้ ว่ ย และมรี ะบบเตอื นใน IPAD หากมคี วามคลาดเคลอื่ นเกดิ ขนึ้ ซง่ึ แพทยส์ ามารถพจิ ารณาขอ้ มลู อกี ครงั้ และยนื ยนั
529   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)













































































   527   528   529   530   531