Page 83 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 83
B3-201
19th HA National Forum
การรกั ษาทางการแพทยท์ กุ ชนดิ มโี ทษ แตท่ กุ วนั ทเี่ ราทา เพราะวา่ มนั มปี ระโยชนม์ ากกวา่ โทษ การรกั ษาทางการแพทยห์ ลายอยา่ งทต่ี อ่ ชวี ติ ผคู้ น เพมิ่ จา นวนวนั ใหม้ ากขนึ้ ถา้ วนั หนง่ึ เราทา อะไรไมไ่ ดก้ ต็ อ้ งเปลยี่ นเปา้ หมาย เพราะเราอาจทา รา้ ยผมู้ ารบั บรกิ ารดว้ ยความหวงั ดี เพยี งเพมิ่ จา นวน วันให้กับชีวิตผู้รับบริการ แต่ในความเป็นจริงทุกคนต้องตาย บางคร้ังความรู้ที่เรามีอาจจะช่วยเหลือคนได้แค่จุดจุดหน่ึง เมื่อถึงเวลาท่ีเราไม่สามารถ เพมิ่ วนั กต็ อ้ งเปลยี่ นเปา้ หมายเพมิ่ คณุ ภาพชวี ติ ใหผ้ ทู้ อี่ ยู่ บางครงั้ ผรู้ บั บรกิ ารอาจตอ้ งการ พระ บาทหลวง ภรรยา ลกู ครอบครวั มาชว่ ยเยยี วยามากกวา่ ผู้ให้บริการ บางครั้งต้องรู้กาลเทศะในการเข้าถึงผู้รับบริการ
มนุษย์ถูกกาหนดให้อยู่รอดบนโลกอย่างมีความหมาย อยู่รอดเพราะความกลัว ความกลัวผลักดันให้เราต่อสู้มนุษย์ใช้อารมณ์เป็นพลังงาน ผลักดันชีวิต
Empathy ไม่ได้แค่หมายความว่า ความสามารถในการเข้าใจความรู้สึกของผู้อื่นเท่านั้นแต่ในความเห็นของผู้บรรยายหมายความถึง “ร่วมทุกข์ให้ได้ร่วมสุขให้เป็น”ซึ่งพื้นฐานที่สาคัญของความเข้าใจความรู้สึกของผู้อ่ืน คือการทาความเข้าใจทั้งหมดเก่ียวกับอารมณ์ความรู้สึก ของตัวเราก่อน ก่อนท่ีเราจะไปดูแลผู้อื่นที่เราอาจจะเรียกว่า อารมณ์วิทยา (Emotionology) เป็นวิชาการเรียนรู้อารมณ์ความรู้สึก
“ชีวิตจะดี เมื่อคุณมีความสุขแต่ชีวิตก็ดีที่สุดเม่ือคนอื่นมีความสุขเพราะคุณ”
อะไรคืออุปสรรคที่ขัดขวางทาให้เราไม่ เข้าใจอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้อื่น 1. ไม่รู้ว่าสาคัญ
2. รู้ว่าสาคัญ แต่ไม่สนใจ
3. รู้ว่าสาคัญ สนใจ แต่ไม่อยากใช้
4. รู้ว่าสาคัญ สนใจ อยากใช้แต่ไม่กล้าใช้
5. รู้ว่าสาคัญ สนใจ อยากใช้ กล้าใช้แต่ใช้ไม่เป็น
6. รู้ว่าสาคัญ สนใจ อยากใช้ กล้าใช้แต่ใช้แล้วผิดพลาดท่าและบาดเจ็บ
ความสามารถในการช่วยเหลือคน เป็นส่ิงที่พิเศษมากมันอยู่ในงานของเราในโรงพยาบาลมักจะมีปรากฏการณ์ชีวิตใหม่เกิดขึ้นทุกชั่วโมง เพราะเขาได้รับความทุกข์จากการเจ็บป่วย อาการที่เขาเคยเป็น เคยมี เคยได้หายไป เขาเลยมาหาเรา เราช่วยทาให้เขากลับไปมี กลับไปเป็น ทาได้ใหม่ เรียนรู้อารมณ์วิทยามากข้ึน เรียนรู้การใช้ความเศร้า ความกลัว ให้เป็นประโยชน์มากข้ึน ทาให้ความสัมพันธ์ดีขึ้น ช่วยให้ผู้รับบริการรู้สึกดีขึ้น ในสถานการณ์ที่กาลังประสบความยากลาบาก มันจะไม่ได้ดีกับเขาอย่างเดียวมันดีกับตัวเราด้วย เราอาจจะต้องเริ่มจากทาทีละคน/วัน ไม่ต้องทา ทีเดียวทั้งหมด เริ่มเรียนรู้กับมัน แล้วหันมาดูว่าชีวิตเรามีความสุขมากขึ้นไหม
ปัญหาท่ีมักพบในโรงพยาบาลผู้ป่วยนอก ห้องฉุกเฉิน ผู้ป่วยใน และห้องหัตถการทั้งหมดคือ ผู้รับบริการไม่ถูกเห็น มักไม่ได้รับความเอาใจใส่ บางครั้งแพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยมักสนทนากันเองไม่สนใจผู้รับบริการไม่เคารพความเป็นมนุษย์ ความต้องการของผู้รับบริการเช่น ต้องการการดูแล เอาใจใส่ ความปลอดภัย ความเห็นอกเห็นใจ และคาพูดที่ให้กาลังใจพูดคุยให้เขาผ่อนคลายความเครียดทางอารมณ์
มนุษย์เป็นเพียงสิ่งเดียวท่ีมี Awareness ของ Awareness ทาความรู้จักอารมณ์ ตระหนักถึงความเป็นอยู่ของอารมณ์ และเหตุผล การมีอยู่ของอารมณ์ และเป็นกัลยามิตรกับอารมณ์หน้าที่ของเราคือเป็นกระจกให้ผู้รับบริการเห็น ปรับองศาว่ายังมีมุมน้ีอยู่ เอาความจริงมาสะท้อน ทุกวันท่ีเรามีทุกข์อยู่เพราะปรับกระจกไม่เป็น
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 83