Page 82 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 82

B3-201
19th HA National Forum
 “อารมณ์วิทยา
มคี วามสาคญั กบั เราอยา่ งไร”
1. ตัวหล่อเล้ียงความสัมพันธ์ คือ อารมณ์
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้ทาการวิจัยที่ยาวนานที่สุดในโลกถึง 75 ปี เพ่ือหาคาตอบของคาถามคลาสสิกที่ทุกคนต่างพยายามแสวงหาว่า “ชีวิตท่ีดีคืออะไร” ตั้งแต่ช่วงปีค.ศ. 1930-2005 โดยติดตามชีวิต ของกลุ่มเป้าหมายท่ีเป็นวัยรุ่นชายจานวน 724 คน แบ่งออกเป็นสองกลุ่ม ปัจจุบัน เหลือกลุ่มเป้าหมายเพียง 60 กว่าคนเท่านั้น ซึ่งท้ังหมดมีอายุไม่ต่ากว่า 90 ปี กลุ่มเป้าหมายที่แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
1. นักศึกษาชายปีที่สองของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดจานวน 268 คน ได้รับการศึกษาจากสถาบันที่มีช่ือเสียง
2. เด็กวัยรุ่นอายุ 12-16 ปี ที่เมืองบอสตันจานวน 456 คน ซึ่งเป็นกลุ่มที่โตขึ้น มีฐานะยากจน
ช่วงแรกในการทาวิจัยพบว่า 80% ต้ังเป้าหมายในชีวิตที่ “ความร่ารวย” และอีกมากกว่า 50% ต้ังเป้าหมายในชีวิตท่ี “การมีช่ือเสียง”
แต่หลังจบโครงการพบว่าชีวิตท่ีดีเกิดจากความสัมพันธ์ท่ีดีกับคนรอบข้างปริมาณ หรือ รูปแบบของความสัมพันธ์ ไม่สาคัญเท่า คุณภาพของความ สัมพันธ์ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ดีนอกจากจะส่งผลต่อสุขภาพแล้วยังส่งผลต่อการทางานของสมอง
2. อารมณ์เป็นเร่อื งอัตโนมัติ
อารมณค์ วามรสู้ กึ เปน็ สงิ่ ทตี่ งั้ ใจควบคมุ บงั คบั โดยตรงไมไ่ ด้ มนษุ ยไ์ มส่ ามารถบงั คบั ใหต้ วั เองรสู้ กึ ตามความตอ้ งการไดอ้ ารมณจ์ ะตอบสนอง สิ่งเร้าได้เร็วกว่าสมอง เพราะมันจะทางานอัตโนมัติแต่เราจะแน่ใจได้อย่างไรว่าความเป็นอัตโนมัติทางอารมณ์ที่กาลังรู้สึกน้ันดีหากไม่ดีจะต้องมีการ เปล่ียนแปลง เพราะถ้าไม่เปลี่ยนความเป็นอัตโนมัติน้ันจะกลายเป็นความเคยชิน และเปลี่ยนเป็นนิสัย
วกิ เตอร์ แฟรงเกลิ (Victor Frankl) จติ แพทยช์ าวออสเตรยี กลา่ ววา่ “อารมณจ์ ะทา งานเรว็ กวา่ สมองประมาณเสยี้ ววนิ าทรี ะหวา่ งสง่ิ เรา้ กบั การตอบสนองของมนุษย์ มันจะมีช่องว่าง แล้วในช่องว่างนั้นเราสามารถเลือกว่าจะตอบสนองอย่างไรอะไรก็สามารถเกิดข้ึนได้ในช่วงเศษเส้ียววินาที น้ันเป็นกุญแจสาคัญ ที่จะช่วยปรับปรุงความสามารถในการตัดสินใจ ต้องอาศัยเรื่องของความตระหนักรู้ (awareness) สติ (Mindfulness) ในการ คิดพิจารณา เพื่อให้เราเท่าทัน และไม่ต้องตกอยู่ภายใต้ความเป็นอัตโนมัติทางอารมณ์ท่ีจะส่งผลถึงการแสดงออกในทางที่ไม่เหมาะสม
มุมมองของผู้รับบริการ มองว่าสุขภาพ (Health) คือโรงพยาบาลและเครื่องมือเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทาให้เกิดการฟ้องร้องมากข้ึน ยงิ่ เกดิ การฟอ้ งรอ้ งมาก ผใู้ หบ้ รกิ ารยงิ่ ตอ้ งละเอยี ดมากขนึ้ มกี ระบวนการทวนสอบมากขนึ้ สง่ ตรวจพเิ ศษมากขน้ึ สง่ ผปู้ ว่ ยเพอื่ ปรกึ ษาแพทยเ์ ฉพาะทาง มากขึ้น เจ้าหน้าที่ก็เหน่ือยมากขึ้น ค่ารักษาพยาบาลก็สูงข้ึนทาให้ผู้รับบริการไม่พอใจ เกิดการฟ้องร้องมากข้ึนและทาให้เกิดวิกฤตทางระบบสุขภาพ แต่ถ้าเรามองให้ลึกกว่าน้ันว่าสุขภาพคือ การดูแล เอาใจใส่ การเยียวยา ให้หายจากโรคโดยการนาท้ังหมดน้ีมาประกอบในการเป็นตัวเรา การทางาน ของเราทุกอย่างจะค่อยๆ ดีข้ึนแต่ส่ิงที่สาคัญของระบบสุขภาพอันดับแรก คือ ความปลอดภัย (Safety) คุณภาพ (Quality) และเสียงสะท้อนจาก ผู้รับบริการ (Patient Experiences)
Patient first ไม่ได้แปลว่าคนไข้ถูกเสมอ เราจะสนใจแต่ความรู้สึกของคนไข้โดยไม่สนใจความรู้สึกของเจ้าหน้าท่ีเลยหรืออย่างไร?
การให้ความสาคัญกับผู้รับบริการก่อน ไม่ได้หมายความว่าต้องตามใจผู้รับบริการทุกอย่าง ผู้รับบริการไม่ได้อยากมาโรงพยาบาล แต่มันไม่ใช่สถานภาพทางอารมณ์ที่ปกติไม่ใช่แค่การรักษาที่ผู้มารับบริการต้องการ ปัญหามันไม่ได้อยู่ท่ีความถูกต้อง แต่อยู่กับอารมณ์ความรู้สึก มากกว่า การรักษาท่ีผู้ให้บริการคิดว่าดีท่ีสุดอาจจะไม่ใช่สิ่งที่ผู้รับบริการต้องการ
การเรียนรู้อารมณ์วิทยาถูกต้อง รู้ว่าจะใช้อย่างไรมีความละเอียดอ่อนในเร่ืองอารมณ์ ความรู้สึก ซึ่งไม่ได้ผลดีเฉพาะเร่ืองงานเท่านั้น แต่ยังให้ผลดีเรื่องส่วนตัวและความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง
ในทางชีววิทยาร่างกายมนุษย์เป็นระบบปิด แต่การที่เราบอกว่าตัวเราคือใครเป็นระบบเปิด เราเชื่อมระหว่างร่างกายมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม จึงจะกลายเป็นตัวเรา (Self) ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีกาหนดว่าเราเป็นอย่างไร อารมณ์เป็นพลังผลักดันชีวิต แม้ว่าเราจะชอบหรือไม่ชอบก็ตาม มันฝังร่องรอย ในชีวิตของเรา อารมณ์โกรธ กลัว เกลียด เตือนให้เรารู้ว่าเราต้องการอะไร ชีวิตเรามีอะไรที่สาคัญบ้าง ต้องการเป็นอย่างไร ผลของอารมณ์จะทิ้ง ร่องรอยในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไว้กับตัวเราเสมอ และเราเลือกได้ ว่าจะท้ิงอะไร อย่างไร และกับใคร
 82   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)
















































































   80   81   82   83   84