Page 434 - Bright Spot 2563
P. 434
Success Story หรือ Bright Spot จากการขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุข
หน่วยงาน ส านักงานสาธารณสุขอ าเภอวังหิน จังหวัดศรีสะเกษ
ประเด็นที่ Success Story หรือ Bright spot
การด าเนินงานองค์กรแห่งความสุขของส านักงานสาธารณสุขอาเภอวังหิน ด าเนินการ
มาอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการพฒนาอย่างมีส่วนร่วม มีการประเมินสุขภาวะองค์กรและน าผล
ั
ื่
การประเมินมาวิเคราะห์ข้อมูลเพอใช้ในการพฒนาองค์กรโดยมีผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ร้อยละ
ั
87.04 โดยการพัฒนาองค์กรแห่งความสุข เน้นการพฒนาองค์กรเป็นองค์กรแห่งความสุขอย่างยั่งยืน
ั
โดยมีขั้นตอนการด าเนินงานดังนี้ การด าเนินการขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุขตามกระบวนการขับเคลื่อน
5 ขั้น ได้แก่
ขั้นที่ 1 การประเมินความสุขบุคลากร (Happinometer) และสุขภาวะองค์กร (HPI)
ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์และแปลผลการประเมินความสุขบุคลากร (Happinometer) และ
สุขภาวะองค์กร (HPI)
ขั้นที่ 3 การจัดท าแผนขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุข
ขั้นที่ 4 การด าเนินงานตามแผนขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุข
ขั้นที่ 5 มีความก้าวหน้าของการขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุขที่เป็นรูปธรรม
บทสรุปผู้บริหาร
การด าเนินงานองค์กรแห่งความสุขในปีที่ผ่านมา มีการด าเนินงานประเมินผลและวิเคราะห์
องค์กรเพอน าไปสู่องค์กรแห่งความสุขอย่างยั่งยืน การประเมินผลและวิเคราะห์องค์กรรวมไปถึง
ื่
การถอดบทเรียนโดยเน้นการด าเนินการด้านบุคลากรเป็นส าคัญ การด าเนินงานสร้างสุขด้านการเงิน
สสอ.วังหิน ได้ด าเนินการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการสาธารณสุขวังหิน เพอพฒนาองค์กรสร้างสุข
ั
ื่
ด้านการเงินโดยให้บุคลากรทุกคนออมเงินเข้ากองทุนฯ น าดอกเบี้ยก าไรจากกองทุนฯ มาจัด
สวัสดิการแก่บุคลากร เช่น มอบเค้กวันเกิด มอบกระเช้าเยี่ยมไข้ เป็นต้น นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้
สมาชิกกู้ยืมเงินกองทุนฯ เพื่อใช้จ่ายในยามฉุกเฉินได้
ปัจจัยแห่งความส าเร็จ
ั
การด าเนินงานแบบมีส่วนร่วมมีทิศทางในการพฒนาชัดเจน โดยการพฒนาแผนแม่บท
ั
ในการด าเนินงานองค์กรแห่งความสุข มีการก ากับติดตาม ประเมินผล ผ่านการขับเคลื่อนโยบาย
ในการด าเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา
ขาดการสื่อสารและความเข้าใจในการด าเนินงาน Happinometer อย่างถ่องแท้ท าให้
การด าเนินงานยังไม่ครอบคลุมในทุกประเด็น