Page 442 - Bright Spot 2563
P. 442
การน านโยบายของกระทรวงปรับใช้เข้ากับบริบทของพื้นที่ การก าหนดตัวชี้วัดด้านสุขภาพ
จะท าให้การน าองค์กรมุ่งสู่เป้าหมายที่ก าหนด ด้านงานส่งเสริม ป้องกัน และรักษา มีผู้รับผิดชอบงาน
ในแต่ละกลุ่มงานอย่างชัดเจน มีกระบวนการในการด าเนินงานที่แน่นอน ด้วยสภาพสังคมและ
เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ตามความเจริญของนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เข้ามา
มีบทบาทต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน ซึ่งส่งผลกระทบที่เชื่อมโยงถึงกัน ตั้งแต่บุคคล
ครอบครัว สังคม องค์กรและประเทศ ด้วยเหตุของการพัฒนาที่มีเป้าหมายของความเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เพื่อมุ่งตอบสนองความพึงพอใจของปัจเจกบุคคลและกลุ่มเป้าหมาย
แต่ขาดการค านึงถึงหลักคุณธรรม จริยธรรม ขาดการพัฒนาที่ยั่งยืน ในปัจจุบันทั้งองค์กรภาครัฐ หันมา
ื่
มองสิ่งที่อยู่ภายใน ตัวบุคคลแต่ละคนมากขึ้น นั่นคือ “ความสุข” เพอมุ่งไปสู่ “องค์กรแห่งความสุข”
คือองค์กรที่สามารถกระตุ้นจูงใจ สร้างความสุขทั้งด้านร่างกายและจิตใจให้ทุกคนในองค์กร
สร้างความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร พร้อมปฏิบัติภารกิจขององค์กรให้บรรลุตามเป้าหมายได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ โดยมีแนวคิดหลักที่มุ่งด าเนินงานกับบุคลากรที่ถือเป็นบุคคลส าคัญ และเป็นก าลังหลัก
ของทั้งครอบครัว องค์กร ชุมชนและสังคมมีการเสริมสร้างองค์ความรู้และการขับเคลื่อนการเสริมสร้าง
คุณภาพชีวิตในการท างานด้วยความคาดหวังว่าคนท างานในองค์กรมีความสุข งานที่ได้รับมอบหมาย
มีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดความตึงเครียดจากการท างาน และลดความขัดแย้งในองค์กร เปรียบเสมือน
น้ าหล่อเลี้ยงให้พฤติกรรมบุคลากรปรับเปลี่ยนและพัฒนาไปในแนวโน้มที่ดี รวมไปถึงความผาสุก
ในครอบครัว ชุมชน และสังคมที่มีความสุขที่ยั่งยืน
ปัจจัยแห่งความส าเร็จ
การด าเนินงานด้านสาธารณสุขให้ส าเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้นั้น ต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคี
เครือข่าย เช่น หน่วยงานราชการ องค์การบริหารส่วนต าบลในพื้นที่และชุมชน แม้ว่าจะได้รับ
ความร่วมมือ จากภาคีเครือข่ายมากน้อยเพียงใด การบริหารงานยังต้องพึ่งบุคลากรที่มีคุณภาพ
ในการด าเนินงาน ซึ่งบุคลากรเป็นก าลังส าคัญในการบริหารงานให้มีการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ
1. ผู้น าขององค์กรต้องมีวิสัยทัศน์ชัดเจนในการสร้างสุขในองค์กร พร้อมทั้งสนับสนุนให้เกิด
บรรยากาศของความรัก ความเมตตา ความไว้วางใจ และการเข้าใจ
2. องค์กรควรมีการส่งเสริมให้มีกระบวนการสร้างการเรียนรู้ โดยทีมงานต้องค้นหานวัตกรรมหรือ
จัดกิจกรรมลักษณะต่างๆ ที่เหมาะสม กับบริบทขององค์กรเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง
3. องค์กรควรให้ความส าคัญกับการสร้างการสื่อสารอย่าง สร้างสรรค์ระหว่างทีมงานในองค์กร
4. ควรมีการท ากิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพราะกระบวนการท ากิจกรรมเป็นสิ่งส าคัญของการเรียนรู้
เพื่อการเปลี่ยนแปลง โดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง ต้องให้มีความต่อเนื่องสอดรับกัน
5. ปรับปรุงระบบและบรรยากาศขององค์กรให้ส่งเสริม การพฒนาจิตของคนในองค์กร โดยสร้าง
ั
แรงจูงใจให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การยกย่องชมเชย หรือการสร้างแรงบันดาลใจ
ให้คนได้ตระหนักเห็นความส าคัญต่อการเห็นคุณค่าในตนเอง มีบุคคลตนเองจากภายใน