Page 3 - KM Master Plan 2021
P. 3
1. การวิเคราะห์ข้อมูลสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก (SWOT Analysis) ที่เกี่ยวข้องกับการจัดท า
แผนแม่บทการจัดการความรู้
1.1 การวิเคราะห์ข้อมูลสภาพแวดล้อมภายใน (Internal Factor Analysis)
1.1.1 จุดแข็ง (Strengths) และโอกาสในการปรับปรุงการด าเนินงาน (OFIs)
จากรายงานสถานะการด าเนินงานของรัฐวิสาหกิจด้าน Core Business Enablers หัวข้อ การจัดการ
ความรู้ สรุปประเด็นส าคัญประกอบด้วยจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงการด าเนินงาน (Opportunity for
Improvement : OFIs) ดังนี้
ด้านที่ จุดแข็ง (Strengths) โอกาสในการปรับปรุงการด าเนินงาน (OFIs)
1. การน าองค์กร - ผู้บริหารระดับสูงก าหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย - ธสน. ควรเชื่อมโยงการจัดการความรู้กับ
และเป้าหมายระยะสั้น/ระยะยาวในการ แผนงานที่ส าคัญอื่นๆ ขององค์กร เช่น
ั
จัดการความรู้ที่เชื่อมโยงกบวิสัยทัศน์ การพัฒนาระบบการเรียนรู้ การพัฒนา
พันธกิจ ค่านิยม ยุทธศาสตร์ขององค์กร เทคโนโลยีดิจิทัล เป็นต้น
- คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจมีส่วนร่วมในการ - ผู้บริหารทุกระดับมีส่วนร่วมในการ
พิจารณาให้ความเห็นชอบดังกล่าว รวมถึง ขับเคลื่อนการจัดการความรู้ โดยน าการ
แต่งตั้งคณะจัดการ และคณะท างานด้าน จัดการความรู้ไปใช้ในสายงาน และเป็น
การจัดการความรู้ ซึ่งมีตัวแทนของสาย แบบอย่างที่ดีให้แก่บุคลากร อย่างไรก็ตาม
งาน/หน่วยงาน พร้อมก าหนดความ ควรก าหนดบทบาทของผู้บริหารแต่ละ
รับผิดชอบที่ชัดเจน ระดับให้ชัดเจนในการกระตุ้นและสร้าง
- ผู้บริหารระดับสูงสุดมีส่วนร่วมและติดตาม แรงจูงใจทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็น
การด าเนินงานตามแผนแม่บท รวมถึง ทางการให้แก่บุคลากร และแสดงให้เห็นถึง
แต่งตั้งผู้บริหารระดับสูงเป็นหัวหน้า การน าการจัดการความรู้มาใช้ประโยชน์ใน
ื่
คณะท างานจัดการความรู้ เพอด าเนินการ การพัฒนาการท างานในแต่ละสายงาน
สื่อสารวิสัยทัศน์ นโยบาย และเป้าหมายใน อย่างจริงจัง
การจัดการความรู้อย่างสม่ าเสมอ
2. การวางแผน - ผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมี - การก าหนดกลยุทธ์และแผนงานด้านการ
และทรัพยากร ส่วนร่วมในการจัดท าแผนยุทธศาสตร์และ จัดการความรู้ควรแสดงให้เห็นถึงการน า
สนับสนุน วางแผนงานด้านการจัดการความรู้ ข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและ
มีการก าหนดเป้าหมายการจัดการความรู้ ภายนอกองค์กรมาใช้อย่างเป็นรูปธรรม
ทั้งระยะสั้นและระยะยาว
2