Page 4 - บทที่13 ไฟฟ้าสถิต
P. 4
4
ว่ำวัตถุนั้นมีประจุ นอกจำกนี้ยังสำมำรถตรวจสอบชนิดของประจุที่อยู่บนวัตถุว่ำเป็น
ประจุบวก ลบ หรือกลำงทำงไฟฟ้ำได้
รูปที่ 13.5 อิเล็กโทรสโคแผ่นโลหะ
13.4.2 การต่อสายดิน คือ กำรท ำให้วัตถุเป็นกลำงทำงไฟฟำโดยกำรต่อสำยไฟที่ต่อกับตัวน ำฝังดิน
้
เนื่องจำกโลกมีขนำดใหญ่มำก สำมำรถให้ประจุและรับประจุจำกภำยนอกได้ไม่จ ำกัด และถือว่ำโลกมีควำมเป็น
กลำงทำงไฟฟ้ำ (ศักย์ไฟฟ้ำของโลกเท่ำกับศูนย์)
13.5 แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
กฎของคูลอมบ์ กล่ำวถึงแรงระหว่ำงประจุสองประจุ สำมำรถค ำนวณหำขนำดของแรงได้ ทั้งในกรณี
แรงดูด และแรงผลักระหว่ำงประจุ ตำมสมกำร
1 2
=
2
จำกฎของคูลอมบ์สรุปได้ว่ำแรงระหว่ำงประจุแปรผกผันกับก ำลังสองของระยะห่ำงประจุและแปรผัน
ตรงกับผลคูณระหว่ำงประจุ
2
2
เมื่อค่ำ เป็นค่ำคงตัวของกำรแปรผัน มีหน่วยเป็น นิวตัน(เมตร) ต่อ(คูลอมบ์)
1
่
ค่ำ = เมื่อ คือสภำพะยอมในสุญญำกำศ (permittivity) มีคำประมำณ 8.8542×10 −12 /
2
2
0
4 0
แรงระหว่ำประจุ มีหน่วยเป็นนิวตัน
้
และ 2 ประจุไฟฟำ มีหน่วยเป็นคูลอมบ์
1
ระยะห่ำงระหว่ำงประจุ มีหน่วยเป็นเมตร
แรงระหวางประจุไฟฟ้า (force between electric charge) มีสองชนิดคือ แรงดึงดูด
่
(attractive force) และ แรงผลัก (repulsive force) ซึ่งแรงที่เกิดขึ้นนี้เป็นผลมำจำก ประจุไฟฟ้า
(electric charge)