Page 30 - อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
P. 30
14
ี
ที่เป็นอยู่ในปัจจุบันเป็นแต่เพยงการเริ่มต้นเท่านั้น เพราะว่าประชากรของโลกจะเพมจ านวนขึ้น
ิ่
ตลอดเวลา ในขณะที่วิวัฒนาการด้านการขนส่งที่สามารถขนส่งผู้โดยสารได้จ านวนมากท าให้ค่าใช้จ่าย
ในการเดินทางถูกลง การเดินทางท่องเที่ยวจึงมิได้จ ากัดอยู่เฉพาะในกลุ่มผู้มีรายได้สูงเท่านั้น ตั้งแต่
ึ
ก่อนการท่องเที่ยวถือได้ว่าเป็นเรื่องของความพงพอใจของแต่ละบุคคล องค์การสหประชาชาติ
ประกาศว่า “การเดินทาง ท่องเที่ยวเป็นสิทธิมนุษยชนอย่างหนึ่งที่รัฐพึงสนับสนุน”
ึ่
ุ
1.3.1.6 อตสาหกรรมท่องเที่ยวไม่มีขีดจ ากัดในเรื่องการผลผลิต เพราะไม่ต้องพงดิน
้
ุ
ฟาอากาศ เหมือนการเกษตรอน ๆ ผลผลิตของอตสาหกรรมท่องเที่ยวที่เสนอขายให้แก่ นักท่องเที่ยว
ื่
คือ ความสวยงามของธรรมชาติหาดทรายชายทะเล ป่าไม้ ภูเขา สภาพอากาศและสิ่งที่มนุษย์ก่อสร้าง
ขึ้น เช่น พระบรมมหาราชวัง วัดวาอาราม โบราณสถาน อาคารบ้านเรือนในท้องถิ่น ตลอดจน
ขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของประชาชน เช่น ตลาดน้ า ประเพณีสงกรานต์ ลอย
กระทง เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นรูปธรรมที่มีความยั่งยืน ไม่ผันแปรหรือขึ้นอยู่กับสภาพ ฝนฟ้า อากาศ
ดังเช่น การผลิตด้านเกษตรกรรม หรืออตสาหกรรมอนไม่ต้องลงทุนและเทคโนโลยีเป็นจ านวนมาก
ุ
ื่
ุ
ดังนั้น อตสาหกรรมการท่องเที่ยวจึงได้รับการสนับสนุน และกระตุ้นจากองค์การท่องเที่ยวโลกอย่าง
จริงจังที่จะให้ประเทศที่ก าลังพฒนาได้สนใจ และหันมาใช้อตสาหกรรมนี้เป็นประโยชน์เพมเติมต่อ
ั
ิ่
ุ
อาชีพเกษตรกรรม หรืออตสาหกรรมที่มีอยู่เดิมนับเป็นความได้เปรียบอย่างมากของอตสาหกรรมการ
ุ
ุ
ท่องเที่ยว
ุ
1.3.2 ความส าคัญของอตสาหกรรมการท่องเที่ยวต่อสังคมและวัฒนธรรม สามารถสรุปได้
ดังต่อไปนี้
ู
1.3.2.1 อตสาหกรรมท่องเที่ยวช่วยสนับสนุนฟนฟ อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณี
ุ
ื้
ซึ่งเป็นสิ่งดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยว สังคมไทยเป็นสังคมของชาติเก่าแก่สืบเนื่องมาเป็นพนปีจึง
ั
มีวัฒนธรรมระเบียบประเพณีนาฏศิลปะ การละเล่น ฯลฯ ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละท้องถิ่น เป็น
มรดกตกทอดที่ควรค่าแก่การน าออกเผยแพร่ฟื้นฟูและอนุรักษ์ไว้
1.3.2.2 อุตสาหกรรมท่องเที่ยวจะมีบทบาทในการสร้างสรรค์ความเจริญไปสู่ภูมิภาค
ต่าง ๆ เมื่อเกิดการเดินทางท่องเที่ยวจากภูมิภาคหนึ่งไปยังอกภูมิภาคหนึ่งไม่ว่าจะเป็นคนไทยหรือคน
ี
ต่างประเทศก็ย่อมหลีกเลี่ยงไม่พนที่จะได้ช่วยสร้างสรรค์ให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ ในท้องที่นั้น ๆ เช่น โรงแรม
ื้
ภัตตาคาร สิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ซึ่งก็จะต้องมีผู้ลงทุนในหลาย ๆ ลักษณะเป็นการสร้างความ
เจริญให้แก่ท้องถิ่นเหล่านั้น (กันต์กนิษฐ์ กุลชาติธีรธรรม, ม.ป.ป.: ออนไลน์)
1.3.2.3 การท่องเที่ยวมีส่วนช่วยในการสร้างสัมพนธ์ ก่อให้เกิดมิตรภาพ ความเป็น
ั
มิตรไมตรีและความเข้าใจอันดีระหว่างเจ้าของประเทศและผู้มาเยือน