Page 13 - แฟ้มประเมินด้านที่ 1 ตัวชี้วัด 1.2.1
P. 13
ฐานการเรียนรู้ที่ ๕
ฐานสืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้าน
การละเล่นกลองยาว
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้ผู้เรียนรู้และเข้าใจบริบทความเป็นมาของกลองยาว
๒. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการปฏิบัติเครื่องดนตรี “กลองยาว”
๓. เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักวิธีการบ ารุงรักษาเครื่องดนตรีได้อย่าง
ถูกต้อง
๔ เพื่อเป็นการสืบสาน อนุรักษ์ และเผยแพร่วัฒนธรรม
การละเล่นกลองยาวให้คงอยู่สืบไป
๕ เพื่อให้ผู้เรียนมีแนวทางในการประกอบอาชีพ ๑. กลองยาว
๒. ถ่วงหน้ากลอง และอุปกรณ์เสริมต่าง ๆ
๓. อุปกรณ์ประกอบจังหวะ
๔. แผ่นบอร์ดประกอบการเรียนรู้
สาระส าคัญ
กลองยาว เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดนตรีตี ได้รับอทธิพลมาจากประเทศพม่า
ิ
ลักษณะของกลองจะขึงหนังหน้าเดียว ตัวกลองท่อนที่ขึงหนังจะป่องออก ส่วนที่ต่อออกไป
ด้านตรงข้ามหน้ากลองเป็นท่อกลวงปลายบาน ซึ่งวิธีการบรรเลงจะมีความง่ายกว่ากลองชนิด
อน ๆ เหมาะส าหรับฝึกหัดการเรียนตีกลองในเบื้องต้น การฝึกหัดกลองจะช่วยให้ผู้เรียนได้
ื่
พัฒนาโสตประสาทในการฟัง สมาธิ เกิด เข้าใจ ให้ความสนุกสนาน เกิดความสามัคคีระหว่าง
ผู้บรรเลงด้วยกัน เมื่อฝึกจนเกิดความช านาญก็จะสามารถน าไปประกอบเป็นอาชีพได้