Page 14 - แฟ้มประเมินด้านที่ 1 ตัวชี้วัด 1.2.1
P. 14
ฐานการเรียนรู้ที่ ๕
ฐานสืบสานวัฒนธรรมพื้นบ้าน
การละเล่นกลองยาว
ความรู้ คุณธรรม
- รู้และเข้าใจบริบทความเป็นมาของกลองยาว - มีความรับผิดชอบ
- สามารถปฏิบัติกลองยาวได้จริง - ความซื่อสัตย์ /ความขยัน อดทน
- บ ารุงรักษาเครื่องดนตรีได้อย่างถูกวิธี - ตรงต่อเวลา
- สืบสาน อนุรักษ์ และเผยแพร่
- แนวทางในการประกอบอาชีพ
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน
ุ
- ใช้เครื่องดนตรี และอปกรณ์ - เป็นการเลือกจัดกิจกรรมที่ - มีความรู้ ความเข้าใจ และ
ที่มีได้อย่างคุ้มค่า เหมาะสม และ สอดคล้องกับแหล่งการเรียนรู้ และ ทักษะในการละเล่นกลองยาว
ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด อุปกรณ์ที่มีอยู่แล้วได้อย่างเหมาะสม - สามารถบ ารุงรักษาเครื่อง
- การรู้จักซ่อมบ ารุงรักษา เพื่อ - เพื่อปลูกฝังจิตส านึกในการ ดนตรีได้ด้วยตนเอง
ยืดอายุเครื่องดนตรีที่ใช้งาน อนุรักษ์ สืบสาน และเผยแพร่มรดก - มีจิตส านึกรักความเป็นไทย
ของชาติ - รู้จักวิธีการร่วมงานกับผู้อื่น
- เพื่อให้ผู้เรียนได้มีแนวทางใน และสามารถท างานเป็นทีมได้อย่างดี
การสร้างรายได้เสริมระหว่างเรียน - มีแนวทางในการประกอบ
และสามารถน าไปประกอบอาชีพได้ อาชีพ
วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
- ใช้เครื่องดนตรี และ - ใช้ทักษะความรู้ - เป็นการน า - ภูมิใจในวัฒนธรรม
้
อุปกรณ์ได้อย่างคุ้มค่า ถูกวิธี ความสามารถที่มีเขาร่วม ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ให้ อันความเป็นมรดกทางภูมิ
ุ้
เกิดประโยชน์สูงสุด กิจกรรม ประเพณีต่าง ๆ ใน เกิดประโยชน์ และคมค่า ปัญญาของบรรพบุรุษ
- บ ารุงรักษาเครื่อง ท้องถิ่นของชุมชนได้เป็น - การละเล่นกลองไม่ - เกิดจิตส านึกรักใน
ดนตรี และอุปกรณ์ให้มีอายุ อย่างดี ท าให้เกิดมลภาวะต่อ วัฒนธรรมความของชาติไทย
การใช้งานที่ยาวนานขึ้น - สืบสาน อนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม - สืบสาน อนุรักษ์
และเผยแพร่สู่สาธารณะชน และเผยแพร่แด่ชนรุ่นหลัง
เพื่อให้วัฒนธรรมอันดีงามนี้
คงอยู่คู่บ้านเมืองสืบไป