Page 5 - จุลสาร 64_3
P. 5
- 2 -
และจดจ านองในคราวเดียวกัน) ส าหรับที่อยู่อาศัยใหม่ ราคาไม่เกิน 3 ล้านบาทต่อหน่วย ตั้งแต่วันที่ 3
กุมภาพันธ์ – 31 ธันวาคม 2564
ส าหรับกรมสรรพสามิต เป็นหน่วยงานจัดเก็บภาษีภายใต้กระทรวงการคลัง มีวิสัยทัศน์
ื่
ั
คือ ผู้น าการจัดเก็บภาษีเพอสังคม สิ่งแวดล้อม และพลังงาน และมีพนธกิจหลักคือบริหารการจัดเก็บ
ื่
ภาษีเพอส่งเสริมฐานะทางการคลังอย่างยั่งยืน แม้ว่าเป้าหมายหลักคือการหารายได้เข้ารัฐ แต่มี
ี
ื่
ื่
ั
มาตรการภาษีเพอความผาสุกของประชาชนเป็นอกหนึ่งพนธกิจ จึงได้มีการด าเนินมาตรการเพอ
ช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประกอบธุรกิจด้วยการก าหนดมาตรการขยายระยะเวลาการ
ช าระภาษีให้แก่ผู้ประกอบอตสาหกรรมและผู้ประกอบกิจการสถานบริการ โดยธุรกิจที่ได้รับผลกระทบ
ุ
อย่างรุนแรง คือธุรกิจการบิน แม้ธุรกิจการบินมิได้เป็นผู้ประกอบอตสาหกรรมในการก ากับดูแลของ
ุ
กรมสรรพสามิต แต่น้ ามันเชื้อเพลิงที่ใช้เติมอากาศยานนั้น อยู่ในการก ากับดูแลของกรมสรรพสามิต
ซึ่งผู้ประกอบอตสาหกรรมต้องมีหน้าที่ช าระภาษี โดยเป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการ
ุ
ห้ามเดินทางเข้าออกของรัฐบาลหลายประเทศ ซึ่ง Economic Intelligence Center (EIC) ของ
ธนาคารไทยพาณิชย์ประเมินว่า รายได้จากเส้นทางระหว่างประเทศของสายการบินสัญชาติไทย
จะลดลงถึง 65% เมื่อเทียบกับปี 2562 ส่วนรายได้จากเส้นทางการบินภายในประเทศจะลดลง
ประมาณ 45% ไม่เพยงเท่านี้ EIC ยังประเมินว่าการหยุดให้บริการจะส่งผลต่อสภาพคล่องของสาย
ี
ี
การบินสัญชาติไทยซึ่งจะสามารถเเบกภาระค่าใช้จ่ายได้เพยงประมาณ 3 เดือนเท่านั้น ส่งผลกระทบ
มาถึงปัจจุบันและคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อไปอกในอนาคตที่ส่งผลให้การเดินทางของนักท่องเที่ยว
ี
ต่างชาติที่เข้ามาท่องเที่ยวยังประเทศไทยลดลงกว่าร้อยละ 80 ส่งผลต่อเนื่องถึงผู้ประกอบธุรกิจสาย
การบินให้เผชิญภาวะขาดสภาพคล่องสะสม และอาจท าให้กระทบต่อการจ้างงานในอตสาหกรรมนี้
ุ
ดังนั้น เพอให้ธุรกิจสายการบินยังสามารถด าเนินธุรกิจต่อไปได้ กรมสรรพสามิตจึงได้มีแนวทางในการ
ื่
ช่วยเหลือสายการบินในประเทศไทยให้ยังคงความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศ รวมทั้งการลดภาระภาษีจะช่วยเปิดโอกาสให้สายการบินจะ
ิ่
สามารถเปิดสายการบินภายในประเทศเพมขึ้นได้ โดยเฉพาะการเปิดเส้นทางเมืองรองเพอตอบสนอง
ื่
่
ั
นโยบายของรัฐบาล ด้วยการปรับลดอตราภาษีน้ ามันเชื้อเพลิงส าหรับเครื่องบินไอพนที่น าไปใช้เป็น
ั
เชื้อเพลิงส าหรับอากาศยานในประเทศลง จากเดิมจัดเก็บในอตรา 4.726 บาท/ลิตร มาเป็นการจัดเก็บ
ในอตรา 0.20 บาท/ลิตร และให้มีผลตั้งแต่วันที่ 10 เมษายน 2563 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม ๒๕๖๔
ั
โดยคาดการณ์การสูญเสียรายได้ภาษีน้ ามันเชื้อเพลิงส าหรับเครื่องบินไอพนจากการด าเนินมาตรการ
่
ทางภาษีสรรพสามิตในครั้งนี้ประมาณ 900 ล้านบาท ซึ่งประโยชน์ที่ได้รับจากมาตรการนี้จะช่วยให้
1. เศรษฐกิจในภาคการท่องเที่ยวมีการฟื้นตัวต่อเนื่องจากการได้รับมาตรการกระตุ้น
อย่างต่อเนื่องและเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรองซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้และการกระตุ้น
เศรษฐกิจในระดับท้องถิ่น
2. อตสาหกรรมท่องเที่ยวและธุรกิจสายการบินมีสภาพคล่องในการด าเนินธุรกิจ
ุ
ุ
ส่งผลให้ยังคงมีการจ้างงานในอตสาหกรรมนี้ รวมทั้งธุรกิจสายการบินไม่ต้องปิดตัวหรือระงับเส้นทาง
การบิน ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อประชาชนให้ยังคงมีทางเลือกในการเดินทางที่สะดวกและเหมาะสมกับ
ความต้องการ
3. เกิดการจับจ่ายใช้สอย ตามเมืองต่างๆ ประกอบกับมีวัคซีนโควิด-19 และฉีดให้กับ
ประชาชนอย่างทั่วถึงจะช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศต่อไปได้ เชื่อว่าตัวเลขเศรษฐกิจจะฟื้นตัว
ื้
ดีขึ้น ก็จะเป็นผลดีต่อการส่งออกของไทย รวมทั้งหากเปิดประเทศก็จะส่งเสริมการท่องเที่ยวให้ฟนตัว
ได้อีกด้วย
[3]