Page 6 - จุลสาร 64_3
P. 6
- 3 -
ื่
ผู้เขียนเห็นว่า แม้ว่าประเทศไทยจะสามารถเปิดประเทศเพออนุญาตให้มีการเดินทาง
และท่องเที่ยวได้กับบางประเทศแล้วก็ตาม แต่การท่องเที่ยวแบบการรักษาระยะห่าง (Social
Distancing) ย่อมมีผลต่อการตัดสินใจมาเที่ยวของชาวต่างชาติ ท าให้ธุรกิจหลายประเภทไม่สามารถ
กลับมาเปิดด าเนินการได้อย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นโรงแรม ร้านอาหาร ร้านสปา หรือสถานที่จัดการ
แสดงโชว์ เป็นต้น และมาตรการที่รัฐบาลได้มีการด าเนินการช่วยเหลือไปนั้นเป็นเพยงมาตรการระยะ
ี
ื่
ื่
สั้นเพอแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน ดังนั้น จึงควรมีการวางมาตรการระยะยาวเพอแก้ไขปัญหาและ
ื่
ข้อจ ากัดเชิงโครงสร้างของภาคท่องเที่ยวควบคู่กันไป เพอช่วยให้เกิดการขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจอย่าง
ยั่งยืน โดยมุ่งเน้นมาตรการให้เกิดผลเป็นรูปธรรมโดยเร็ว เช่น
ิ่
1. การสร้างมูลค่าเพมให้กับการท่องเที่ยว โดยการใช้จุดแข็งด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิต
ของแต่ละท้องถิ่น ทรัพยากรธรรมชาติ เพอให้เกิดประสบการณ์ในการท่องเที่ยวซึ่งจะช่วยทั้งในด้าน
ื่
ความมีเอกลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวและเพมค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยว เป็นการสร้างแรงจูงใจ
ิ่
ให้นักท่องเที่ยวต่างชาติกลับมาเที่ยวประเทศไทยเพิ่มขึ้น
ิ่
2. สนับสนุนธุรกิจชุมชน โดยใช้วัตถุดิบหลักที่มีในท้องถิ่นนั้นๆ น ามาเพมมูลค่า
ผลิตภัณฑ์ โดยภาครัฐและภาคเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญต้องให้ความรู้และเทคโนโลยีนวัตกรรม
รวมถึงโอกาสทางการตลาด ยึดหลักตลาดน าการผลิตและมีการก าหนดแผนธุรกิจที่ชัดเจน รวมถึง
ั
สถาบันการเงินต้องให้ความร่วมมือในการให้สินเชื่ออตราดอกเบี้ยต่ า เพอให้มีเงินทุนเพอไปด าเนิน
ื่
ื่
ธุรกิจชุมชนได้
ื่
ื้
3. การเร่งเชื่อมต่อระบบคมนาคมและโครงสร้างพนฐาน เพอให้นักท่องเที่ยวสามารถ
เดินทางในเมืองรองได้อย่างสะดวกและรวดเร็วมากขึ้น เป็นการช่วยลดการกระจุกตัวของนักท่องเที่ยว
ในเมืองหลักและก่อให้เกิดการกระจายรายได้ที่ทั่วถึง
--------------------------------------------------------
[4]