Page 14 - หน้าปกโครงการ_merged
P. 14

บทที่ 2
                                                  เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง


                            เพอเป็นแนวทางในการจัดทำโครงการครั้งนี้ คณะผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารและทฤษฎีที่
                              ื่
                       เกี่ยวข้องต่าง ๆ ดังนี้

                               2.1  แนวคิดหลักการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

                               2.2  แนวคิดและทฤษฎีการพฒนานักศึกษา
                                                       ั
                               2.3  แนวคิดเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

                               2.4  แนวคิดและวิธีการออกแบบระบบ
                               2.5  โปรแกรม  Adobe Flash Professional Cs6


                       2.1  แนวคิดหลักการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

                             2.1.1  สถานศึกษาสายอาชีพทุกแห่ง และสถาบันการอาชีวะศึกษา (สุรีย์ สุเมธีนฤมิต 2539 : 3)

                       ได้กล่าวว่า การตระหนักในบทบาทหน้าที่ของการดําเนินงาน เพอพฒนาคุณภาพของนักเรียนฝึก
                                                                                 ั
                                                                              ื่
                       ประสบการณ์วิชาชีพให้ มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                                                                                                         ึ
                                                                               ื่
                       และให้เป็นที่พอใจแก่ หน่วยงานฝึกงานหรือสถานประกอบการ เพอผลิตนักเรียนให้มีคุณภาพที่พง
                       ประสงค์ อาจพิจารณาได้จากองค์ประกอบ 3 ประการ คือ
                                  2.1.1.1  นักเรียนที่เข้ารับการศึกษา ( Input ) คือ ผลดีต่อการเสริมสร้างให้มีคุณภาพ

                       ของการปฏิบัติงานในหน้าที่นักเรียน และดําเนินการให้มีคุณภาพที่พึงประสงค์นี้ให้ได้
                                  2.1.1.2  กระบวนการผลิตนักเรียน ( Process ) เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

                       ในหลักสูตร ซึ่ง จะต้องมีการประสานทางด้านทฤษฎีและทางด้านปฏิบัติให้สอดคล้องควบคู่กันไป

                                                                               ึ
                       โดยคํานึงถึงผลของ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีคุณภาพที่พงประสงค์
                                  2.1.1.3  นักเรียนที่จบการศึกษา ( Output ) เป็นนักเรียน มีความรู้  ความสามารถใน

                       การปฏิบัติงานหน้าที่ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็น ที่พอใจแก่หน่วยงาน
                       ที่ปฏิบัติ และเป็นที่ยอมรับของสังคมโดยทั่วไปด้วย การฝึกประสบการณ์วิชาชีพหนึ่ง เป็นส่วนหนึ่ง

                       ของกระบวนการจัดการศึกษาในระดับอาชีวะศึกษา ไม่ว่าจะในสาขาวิชาชีพใดก็ตาม เป็นกิจกรรมที่

                       มุ่งเสริมให้นักเรียน ได้รับประสบการณ์ตรงในการทํางาน เป็นการเรียนรู้สถานการณ์และสภาพการณ์
                       ที่เป็นจริงของการทํางาน อกทั้งเป็นการนําเอาความรู้ที่ได้รับ ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติไปทดลองใช้
                                              ี
                                                                                    ั
                         ื่
                       เพอเป็นการตอกย้ำให้เกิดความชัดเจน เห็นจริง ในองค์ความรู้ที่ได้รับ อนจะเป็นประโยชน์สําหรับ
                       นักเรียนในการเตรียมความพร้อม ในพฤติกรรมทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของบุคลิกภาพ สติปัญญา
                               ู
                                              ื่
                       เจตคติที่ถกต้องเหมาะสม เพอที่จะออกไปดําเนินชีวิต และประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิด
                       ประสิทธิผลต่อสังคมในที่สุด แนวคิดของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ มีดังนี้
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19