Page 16 - วรรณกรรมมัธยม
P. 16

สร้ำงสรรค์สำมัคคี


                                    วันนี้ครูได้แบ่งกลุ่มการท างานของเราให้ไปศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ
                  ที่อพยพมาอยู่ร่วมกันในย่านรังสิต โดยให้อิสระในการท างานกลุ่มเพื่อส่งเสริมความเป็นประชาธิปไตย  และ

                  อยากเห็นการท างานร่วมกัน การแบ่งหน้าที่  ความรับผิดชอบ การมีวินัยในการท างานแข่งขันกันท างานให้
                  มีคุณภาพ โดยครูท่านบอกว่า การได้ท างานร่วมกันเราจะเกิดความรัก ความสามัคคี เสียสละและก็จะเกิด

                  ความสุขในการท างาน ซึ่งพวกเราก็เห็นว่าเป็นความจริง หลังจากส่งตัวแทนกลุ่มออกมาน าเสนอในหัวข้อ
                  วัฒนธรรมและชาติพันธุ์ของชาวรังสิตแล้วพอสรุปได้พอสังเขปดังนี้  วัฒนธรรม  มีความหมายถึง วิถีชีวิต

                  ของคนเกิดจากกระบวนการอันซับซ้อนทางสังคมหรือกลุ่มคนโดยรวมเอามิติทางด้านจิตใจ วัตถุ ภูมิปัญญา
                  และอารมณ์เข้าไว้ด้วยกัน จนเป็นรูปแบบเอกลักษณ์ทางสังคมรวมถึงรูปแบบวิถีชีวิตสิทธิมนุษย์ขั้นพื้นฐาน

                  ระบบค่านิยม ตลอดจนขนบธรรมเนียม จารีตและความเชื่อต่างๆ (นิคม มูสิกะคามะ, 2545 วัฒนธรรม
                  ดั้งเดิม วิถีชีวิตในย่านรังสิตในอดีตมีความเกี่ยวโยงกับชาติพันธุ์และอาชีพเป็นหลัก รังสิตเมื่อ 50 ปีก่อน
                  ประกอบด้วยทุ่งโล่ง และแม่น้ าคูคลองที่มีน้ าใสสะอาด การขุดคลองรังสิตจึงเปลี่ยนสภาพทุ่งที่รกร้าง

                  ว่างเปล่าก่อให้เกิดวิถีชีวิตอีกมากมาย มีผู้คนที่อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐาน โดยเฉพาะสองฝั่งคลองจะมีบ้านเรือน
                  ของชาวบ้านเรียงรายกันเป็นระยะๆ  กลุ่มคนที่อพยพเขามาอาศัยอยู่ในย่านรังสิตประกอบด้วยคนไทย

                  คนมอญ  คนญวน คนจีน และคนมุสลิม  เป็นต้น  ผู้คนเชื้อชาติต่างๆ ล้วนมีวัฒนธรรมประเพณีความเชื่อ
                  เป็นของตัวเอง เมื่อมีการตั้งถิ่นฐานอยู่ที่ไหนมักสร้างศาสนสถานหรือสิ่งที่เคารพนับถือไว้เป็นที่ยึดเหนี่ยว

                  จิตใจเสมอ เช่น คนจีนในระยะแรกเข้ามาอาศัยค้าขายอยู่ริมน้ าตามปากคลอง ก็สร้างศาลเจ้าและน าเทพ
                  ที่ตนเองนับถือมาตั้งไว้กราบไหว้บูชา ขอพรให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ดังกล่าวปกป้องคุ้มครองให้การค้าขาย

                  เจริญรุ่งเรืองจึงเกิดศาลเจ้าขึ้นจ านวนมากมาย และเราสามารถพบเห็นประเพณีไหว้เจ้าถือศีลกินเจ งานบุญ
                  มหากุศลทิ้งกระจาด ประเพณีการร าพัด ซึ่งโรงเรียนต่างๆ ก็ได้ส่งนักเรียนเข้าไปร่วมกิจกรรมเหล่านี้ และ
                  พบเห็นได้อยู่ในปัจจุบันคนไทย คนมอญนับถือศาสนาพุทธในเขตพื้นที่รังสิต เมืองธัญบุรีในอดีตจึงเกิด

                  วัดมากมาย  การสร้างวัดยังเกี่ยวโยงไปกับการประกอบอาชีพท านา  เช่น วัดนาบุญ วัดหว่านบุญ
                  วัดธัญญะผล วัดโพสพผลเจริญ  วัดอู่ข้าว  ประเพณีที่เกี่ยวข้องยังพอมีให้เห็นอยู่ก็ เช่น ประเพณีท าขวัญข้าว

                  ประเพณีแรกนา ประเพณีลงแขกด านา ส่วนประเพณีมอญที่ยังเห็นอยู่ก็จะเป็นประเพณีร าผีมอญ
                  ประเพณีร ามอญ มอญร้องไห้ รดน้ าด าหัวผู้ใหญ่ในวันสงกรานต์  เป็นต้นคนมุสลิมส่วนมากตั้งบ้านเรือนอยู่

                  บริเวณสวนพริกไทย ต่อมาก็กระจายไปตามท้องถิ่นต่างๆ  จึงเกิดมัสยิดขึ้น เช่นชุมชนอิสลามคลองหนึ่ง
                  ชุมชนอิสลามคลองสิบสาม  ชาวญวนที่ตั้งถิ่นฐานแถวบึงทะเลสาบส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์ ก็มี

                  วัดพระชนนีของพระเป็นเจ้า เป็นโบสถ์คาทอลิกให้มาร่วมพิธีกรรมเคารพพระเยซู พระชนนี ตั้งอยู่ในเขต
                  เทศบาลนครรังสิตเรานี่เอง   วัฒนธรรมที่เกี่ยวโยงกับอาชีพ ผู้คนที่อยู่อาศัยในย่านนี้ประกอบอาชีพที่
                  หลากหลายตามลักษณะความถนัดของแต่ละกลุ่มคนและเชื้อชาติอาชีพหลักคนส่วนใหญ่ในย่านรังสิตในอดีต

                  คือ การท านา เพราะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งนาหลังจากมีการขุดคูคลอง ก็มีอาชีพอื่นๆ  ตามมา  เช่น
                  การเดินเรือ  การค้าขายข้าว  การต่อเรือ  ขายเรือ  ซึ่งปัจจุบันยังมีโรงงานอู่ต่อเรือเก่าเหลืออยู่ริมคลอง

                  ตลาดรังสิต จึงเกิดวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับสายน้ าการใช้เรือ ในการคมนาคม ขนส่งค้าขายไปมาหาสู่กัน
                  เกิดอาชีพขึ้นมากมายที่เกี่ยวข้องกับสายน้ าจากภูมิปัญญาของชาวบ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาชีพปั้นหม้อดิน






                                                             16
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21