Page 39 - วรรณกรรมมัธยม
P. 39

สมบูรณ์สะดวกในการทดน้ าเข้าสวนอยู่ใกล้กรุงเทพฯ สะดวกในการขนส่ง  และราคาที่ดินในขณะนั้น
                  ก็ไม่สูงนัก”  การท าสวนส้มเขียวหวานประสบความส าเร็จอย่างสูง  จนจัดได้ว่าเป็นพืชเศรษฐกิจที่ท ารายได้

                  สูงที่สุดให้แก่จังหวัดปทุมธานี  ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวสวนร่ ารวยขยับขยายเพิ่มจ านวนการปลูกมากขึ้น
                  จนเกือบถึงจังหวัดนครนายก มากที่สุดคืออ าเภอหนองเสือที่เป็นที่มาของการแข่งเรือขนส้มนั่นเอง

                  ชาวสวนส้มในชุมชนได้มีโอกาสเข้าไปช่วยเหลืออุปถัมภ์ค้ าชูวัด และโรงเรียนได้อย่างเต็มที่ ถึงตอนนี้ครูวารี
                  ได้เสริมว่า “ทุกครั้งที่โรงเรียนมีกิจกรรมกีฬาสีหรือการท าบุญทอดผ้าหรืองานขึ้นปีใหม่เรียกได้ว่า ส้มไม่ต้อง

                  ซื้อหากันเลยทีเดียว  “จนกระทั้งปีพุทธศักราช 2538  รัฐบาลส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยชีวภาพในสวนส้ม
                  แต่ขาดการส่งเสริมและให้ความรู้กับเกษตรกรอย่างครบวงจรเมื่อเกษตรกรน าปุ๋ยชีวภาพมาใช้อย่างขาด
                  ความรู้ขาดทิศทางเพราะปุ๋ยชีวภาพข้อดีคือราคาถูกแต่ประสิทธิภาพของสารขจัดแมลงนั้นยังสู้ปุ๋ยเคมีไม่ได้

                  เมื่อเกษตรกรใช้ทิ้งช่วงห่างเกินไปจึงเกิดโรคระบาดในสวนส้มคือ โรคกรีนนิ่งอาการของโรคคือ ยอดเหลือง
                  ลูกแคระแกรนเมื่อออกผลมีอายุได้ 7 เดือนก็ร่วงหมดต้น  การระบาดเป็นไปอย่างรวดเร็ว จากสวนหนึ่งไป

                  สวนหนึ่งโดยขาดการดูแลจากภาครัฐกว่าที่จะหาสาเหตุได้ชาวสวนก็ประสบปัญหาขาดทุน ในพุทธศักราช
                  2540-2541 ซึ่งประเทศเกิดวิกฤตฟองสบู่แตก ประเทศชาติประสบปัญหาเศรษฐกิจจึงขาดการดูแลจาก

                  ภาครัฐ ชาวสวนต้องขายสวนทิ้งบ้างและจ านองกับธนาคารถูกธนาคารยึดบ้าง บางพื้นที่ที่ท าเลดีๆ ติดถนน
                  แถวคลองสาม คลองสี่ก็กลายเป็นบ้านจัดสรร” เล่าถึงตอนนี้พี่ใหม่ถึงกลับหัวเราะเสียงดังแล้วบอกว่า

                  “อ๋อหมู่บ้านพฤกษาแถวบ้านหนูเองค่ะ”  ทุกคนจึงหัวเราะกันสนุกสนานครูวารีเล่าต่อว่า “ส่วนที่ลึกและ
                  ห่างไกลจากการคมนาคมตั้งแต่หนองเสือแถวคลองสิบก็เปลี่ยนไปปลูกพืชผักล้มลุก ท าสวนกล้วยไม้
                  สวนแก้วมังกร  ปลูกหญ้าท านาหญ้าขายกันเป็นส่วนใหญ่”  คุณสมเกียรติเล่าให้ฟังต่อว่า  “ปัจจุบัน

                  ชาวสวนส้มปทุมธานีกลุ่มหนึ่งรวมทั้งครอบครัวท่านเองได้อพยพครอบครัวไปท าสวนส้มที่จังหวัดลพบุรี
                  จังหวัดก าแพงเพชร   และเชียงใหม่ตัวท่านเองมีสวนส้มที่อ าเภอพรานกระต่ายจังหวัดก าแพงเพชร  ถึง

                  200 ไร่”  “คุณสมเกียรติมีความภาคภูมิใจที่เป็นชาวปทุมธานีทุกวันนี้ยังมีภูมิล าเนาอยู่ที่อ าเภอหนองเสือ
                  สวนส้มเก่าเอามาปลูกพืชผักขาย  ยังคงมีความรักและผูกพันกับชาวปทุมธานี” ครูวารีเล่าถึงตอนนี้ก็ส่งถุง

                  ส้มให้กับพวกเราพร้อมกับพูดว่า “ใครจะรู้ว่าส้มที่เราซื้อกินทุกวันนี้อาจจะเป็นส้มฝีมือการปลูกจากชาว
                  ปทุมธานีก็ได้  ครูจะบอกความลับให้นี่เป็นส้มจากสวนคุณสมเกียรติเลยนะ” ทุกคนหยิบส้มไปปอก

                  รับประทานพร้อมเสียงหัวเราะชอบใจ  เพราะรู้ว่าครูวารีพูดเล่นให้เราได้สนุกสนานกัน
                                    ครูเอื้องจึงพูดขึ้นว่า  “ขอบคุณมากค่ะพี่ เอื้องก็พลอยได้ความรู้ไปกับเด็กๆ  ด้วยดีจังค่ะ พี่
                  ต้องเขียนไว้ให้เด็กเรียนนะคะ”  ครูเอื้องพูดยังไม่ทันจบพี่ปรางก็ถามขึ้นมาทันทีว่า “หนูเคยได้ยินเพลงของ

                  ไวพจน์  เพชรสุพรรณนะคะ  ชื่อเพลง “แตงเถาตาย”  เลยคิดว่าไม่เห็นมีแตงโมอย่างในเพลงเลยค่ะ  ทีแท้
                  ก็มีสวนส้มหรือคะนี่”  ครูวารีถามว่า  “ใครอยากฟังเรื่องต่อให้ร้องเพลงแตงเถาตายให้ครูฟัง  เดี๋ยวครูเล่า

                  ให้ฟังว่า  แตงโมหายไปไหน”  เท่านั้นแหละน้องๆ  พี่ๆ  ที่ยังนอนไม่หลับเพราะตื่นเต้นกับงานวันพรุ่งนี้
                  กับบางส่วนยังสนุกกับการฟังเรื่องราวต่างๆ ก็ช่วยกันร้องเพลงเคาะจังหวะบ้างปรบมือบ้างอย่างสนุกสนาน
                  “ตั้งแต่รังสิตไปจนติดบางปะอิน  พหลโยธินมีของกินไม่น้อย  แม่ค้าหน้าหวานนั่งร้านแผงลอย  ปากนิด

                  จมูกหน่อยนั่งร้อยพวงมาลัย  สะพานรังสิตเชื่อมติดใต้เหนือ  มีก๋วยเตี๋ยวเรือตั้งแต่เหนือจรดใต้  วันเสาร์
                  วันอาทิตย์แฟนเขาติดมากมาย  แต่เดี๋ยวนี้เขาย้ายเลิกขายริมคลอง  ริมทางระหว่างที่กล่าวมีแฟนแม่สาว

                  หน้าขาวผิวผ่อง  ผัดหน้าทาแก้มเสียแดงนั่งร้านขายแตงอยู่ที่ริมคลอง   ฝานแตงแดงๆ เป็นแผ่นเหมือนหนึ่ง






                                                             39
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44