Page 155 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 155

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
4. ฝ่ายรัฐบาลไทยควรจะเร่งแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้ในลักษณะเชิงรุก โดย 1) การแสดงท่าทีอย่างชัดเจนว่า กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐจะไม่มีวันเป็นเอกราชได้ และไม่มีช่องทางใน โครงสรา้ งระหวา่ งประเทศทสี่ นบั สนนุ ใหก้ ลมุ่ ผเู้ หน็ ตา่ งจากรฐั ไดส้ รา้ งรฐั ชาติใหม่ได้ และ 2) แสดงท่าทีว่าพร้อมที่จะแก้ไขสถานการณ์ในพ้ืนท่ี จังหวัดชายแดนภาคใต้ด้วยข้อเสนอทางการเมือง ซึ่งข้อเสนอดังกล่าว อาจจะมาจากการทฝี่ า่ ยรฐั ยน่ื ขอ้ เสนอเอง หรอื อาจจะมาจากการพจิ ารณา ข้อเสนอของกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ ซึ่งการดําาเนินการเช่นน้ีมีลักษณะที่ คล้ายคลึงกับการดําาเนินการเพื่อยุติความขัดแย้งในกรณีของอาเจะห์ มินดาเนา และไอร์แลนด์เหนือ
5. ในกรณีที่รัฐบาลไทยเห็นว่า การกระจายอําานาจการปกครอง หรือการ กระจายอาํา นาจในรปู แบบของ NTA เปน็ ขอ้ เสนอทมี่ คี วามเหมาะสมเพอ่ื บรรเทาปัญหาในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ฝ่ายรัฐจะต้อง 1) เปิดให้ ผทู้ ม่ี สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี จากทกุ ภาคสว่ นไดร้ ว่ มแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ รปู แบบ ของการกระจายอําานาจการปกครอง และ 2) มีการกระจายอําานาจการ ปกครองท่ีแท้จริง ตามหลักการประชาธิปไตย มิใช่การกระจายอําานาจ เพียงแค่ในนาม
145































































































   153   154   155   156   157