Page 154 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 154

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐไม่ได้มีผลต่อการยกระดับปัญหาไปสู่สากล เพราะ ความสนใจโดยส่วนใหญ่ของตัวแสดงภายนอกมาจากปัจจัยอื่นๆ เช่น ปัญหาความรุนแรงท่ียืดเย้ือ แต่ท่ีสําาคัญ การแทรกแซงระหว่างประเทศ เป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนได้ยาก แม้ว่ากฎหมายมนุษยธรรมจะเปิดช่องทางไว้ ใน ทางกลับกัน การปฏิเสธที่จะเรียกสถานการณ์ในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดน ภาคใตว้ า่ เปน็ ความขดั แยง้ และการไมเ่ รยี กกลมุ่ ผเู้ หน็ ตา่ งจากรฐั ตามชอื่ เรียกอย่างเป็นทางการของกลุ่ม ย่ิงเป็นการดึงดูดความสนใจเชิงลบ จากภาคส่วนต่างๆ เช่น นักกฎหมายระหว่างประเทศ นักวิชาการ และ องค์กรพัฒนาเอกชน
2. รัฐบาลไทยสามารถขยายบทบาทหรือเพิ่มจําานวนของฝ่ายที่สามใน ขั้นตอนต่างๆ ในกระบวนการพูดคุยตามความเหมาะสม แต่กระทรวง การต่างประเทศอาจจะหามาตรการทางการทูตเพื่อแสวงหาแรง สนับสนุนจากนานาประเทศ และเพ่ือป้องกันมิให้ตัวแสดงภายนอก ให้การสนับสนุนแก่กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ ทั้งน้ี หากรัฐบาลกังวลถึงผล กระทบทางการเมอื งจากการเพมิ่ บทบาทหรอื ขยายบทบาทของฝา่ ยทสี่ าม ในกระบวนการสนั ตภิ าพ รฐั บาลไทยอาจจะมอบหมายภารกจิ ในการยตุ ิ ปัญหาในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้กับตัวแสดงอ่ืนท่ีท่ีมีความ เหมาะสม แต่ตัวแสดงดังกล่าวจะต้องดําาเนินการในลักษณะไม่เป็น ทางการ เพื่อให้รัฐบาลสามารถปฏิเสธถึงส่วนเกี่ยวข้อง ซึ่งอาจจะหมาย รวมถึงการพูดคุยแบบลับในต่างประเทศ จนกระทั่ง ทั้ง 2 ฝ่ายสามารถ บรรลขุ อ้ ตกลงได้ แตท่ สี่ าํา คญั คอื ฝา่ ยรฐั บาลไทยจะตอ้ งกาํา หนดขอบเขต หน้าที่ รวมทั้งระยะเวลาในการดําาเนินการเพ่ือป้องกันฝ่ายที่สาม กระทําาการที่เกินขอบเขตหน้าที่
3. ฝ่ายรัฐอาจจะสร้างกลไกหรือหน่วยงานกลางเพื่อจัดระเบียบบทบาท กิจกรรมและการดําาเนินการของฝ่ายที่สามในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้
144






























































































   152   153   154   155   156