Page 153 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 153
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ประเทศไทย แตย่ งั มอี กี หลายประเทศทไี่ มร่ บั รองเอกราชของคอซอวอ อยา่ งเชน่ รสั เซยี สเปน และเซอรเ์ บยี นอกจากนี้ ยงั มรี ฐั อกี จาํา นวนหนงึ่ ทเี่ คยใหก้ ารรบั รองอธปิ ไตยของ คอซอวอ แต่ถอดถอนการรับรองในภายหลัง ซึ่งส่วนใหญ่เป็นประเทศในภูมิภาค แอฟรกิ า6 จากปญั หาดงั กลา่ วทาํา ใหค้ อซอวอประสบกบั อปุ สรรคในการรว่ มเปน็ สมาชกิ ขององค์การระหว่างประเทศ
จากการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบกรณีศึกษาต่างๆ ในบทที่ 4 รัฐบาลไทย จงึ ไมต่ อ้ งกงั วลวา่ ตวั แสดงภายนอกจะเขา้ มาแทรกแซงหรอื กดดนั ใหท้ างการไทยตอ้ ง กระจายอําานาจการปกครองเพ่ือแก้ปัญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพราะ โครงสรา้ งระหวา่ งประเทศมกี ารคมุ้ ครองอาํา นาจอธปิ ไตยของรฐั อยแู่ ลว้ ดงั นนั้ วธิ กี าร แกป้ ญั หาในพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใต้ จงึ ขน้ึ อยกู่ บั ดลุ พนิ จิ ของรฐั บาลวา่ อะไรเปน็ วธิ ที เ่ี หมาะสมทส่ี ดุ ทที่ กุ ฝา่ ยจะยอมรบั ได้ แตเ่ ทา่ ทผ่ี า่ นมา เราจะเหน็ ไดว้ า่ มหี ลายพนื้ ที่ ทปี่ ระสบความสาํา เรจ็ ในการแกไ้ ขปญั หาความขดั แยง้ ทดี่ าํา เนนิ มาอยา่ งยาวนานโดยการ ใชว้ ธิ กี ารกระจายอาํา นาจการปกครอง หากรฐั บาลไทยยงั เหน็ วา่ วธิ กี ารดงั กลา่ วมคี วาม ละเอียดอ่อนก็อาจจะลองพิจารณาหลักการ NTA ซึ่งจะเป็นการเปิดช่องทางให้กลุ่ม ประชากรทแี่ ตกตา่ งไดป้ กครองตนเองในประเดน็ หรอื เรอื่ งทคี่ วามสาํา คญั ตอ่ สมาชกิ ของ กลุ่ม (เช่น ศาสนาหรือวัฒนธรรม) โดยแนวทาง NTA เป็นการให้ความคุ้มครองแก่ กลุ่มคนไม่ใช่พื้นที่ ซึ่งอาจจะคลายความกังวลของฝ่ายรัฐได้
ข้อเสนอแนะทางนโยบาย
1. รัฐบาลไทยไม่จําาเป็นต้องให้น้ําาหนักหรือให้ความสําาคัญกับการเลือกใช้ คาํา เรยี กแทนสถานการณใ์ นพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตห้ รอื กลมุ่ เหน็ ตา่ ง จากรัฐ เพราะโครงสร้างระหว่างประเทศเอ้ือต่อฝ่ายรัฐและการปกป้อง อําานาจอธิปไตยของรัฐอยู่แล้ว นอกจากนี้ คําาเรียกแทนสถานการณ์หรือ
6 World Population Review, “Countries that Recognize Kosovo 2021”, https:// www.worldpopulationreview.com/country-rankings/countries-that-recognize- kosovo
143