Page 29 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 29
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และเปิดโอกาสให้ผู้ให้สัมภาษณ์ได้ซักถามเกี่ยวกับการ ศึกษาท้ังหมด เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการให้สัมภาษณ์
ขอ้ มลู อกี สว่ นหนงึ่ คอื การวจิ ยั เชงิ เอกสาร (Documentary Research) ซงึ่ แบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ส่วนท่ีหนึ่ง เป็นเอกสารจากเว็บไซต์ทางการของ สหประชาชาติ ได้แก่ กฎหมายระหว่างประเทศและพิธีสารเพ่ิมเติม (Additional Protocols) ทมี่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งเกยี่ วกบั ความขดั แยง้ ทางชาตพิ นั ธ์ุ และเงอื่ นไขของการ แทรกแซงอาํา นาจอธปิ ไตยของรฐั รวมทงั้ สนุ ทรพจนข์ องเลขาธกิ ารสหประชาชาตทิ จี่ ะ ชว่ ยขยายความเขา้ ใจเกยี่ วกบั กฎหมาย กตกิ า ตลอดจนขอ้ ตกลงระหวา่ งประเทศตา่ งๆ ที่มีผลบังคับใช้ในทางปฏิบัติ
สว่ นทสี่ อง เปน็ บทสมั ภาษณข์ องผทู้ มี่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งกบั กระบวนการสนั ตภิ าพ ในทตี่ า่ งๆ ทตี่ พี มิ พแ์ ลว้ ซงึ่ ถอื เปน็ ขอ้ มลู ปฐมภมู ทิ เี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การวจิ ยั และมสี ว่ น สําาคัญในการทราบถึงทัศนคติของผู้นําาทางการเมืองต่อการยกระดับปัญหาไปสู่สากล รวมทั้งวิธีการรับมือกับฝ่ายต่างๆ ท่ีเป็นอุปสรรคต่อกระบวนการสันติภาพ บทสัมภาษณ์เหล่านี้มาจากสื่อต่างประเทศ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปแบบของคลิปข่าว หรือ บทวิเคราะห์ท่ีมีการถอดบทสัมภาษณ์
ส่วนที่สาม เป็นบทวิเคราะห์และหนังสือวิชาการที่เก่ียวกับกรณีศึกษา (Case Study) ต่างๆ ที่ใช้เป็นส่วนประกอบในการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบผ่าน ประสบการณ์จริง ผู้จัดทําาได้เน้นการวิเคราะห์เหตุและผล (Cause-Effect Analysis) โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Prescriptions) ให้แก่ ผกู้ าํา หนดนโยบายของประเทศไทย และเพอื่ สรา้ งคณุ ปู การแกว่ รรณกรรม (Contribu- tion to the literature)
โครงสร้างของหนังสือ
ในบทต่อๆ ไปจะมีการเน้นวิเคราะห์เพ่ือตอบคําาถามหลักของการศึกษานี้ ซึ่งระบุในหน้าท่ี 6-7
19