Page 28 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 28

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
รัฐและไม่ใช่รัฐสามารถอ้างกฎหมายหรือหลักการระหว่างประเทศใดบ้าง เพ่ือสร้าง ความชอบธรรมต่อการแทรกแซงอําานาจอธิปไตยของไทย ในการนี้ ด้วยพลวัตที่ ซบั ซอ้ นระหวา่ งตวั แสดงภายนอกและทางการไทย ทาํา ใหม้ คี วามจาํา เปน็ ทจี่ ะตอ้ งสรา้ ง ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับโครงสร้างระหว่างประเทศท่ีมีผลในการจําากัดและเสริม สร้างศักยภาพของการกระทําาการของท้ังรัฐไทยและตัวแสดงภายนอก
ในบทต่อๆ ไปจะมีการวิเคราะห์ในเชิงลึกถึงผลของโครงสร้างระหว่าง ประเทศต่อสถานการณ์ในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ในด้านต่างๆ เพ่ือตอบคําาถาม หลัก 3 คําาถามของหนังสือเล่มน้ี
ระเบียบวิธีวิจัย
การศึกษาน้ีเน้นวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Methods) ส่วนหนึ่งของ ข้อมูลได้เก็บจากการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interviews) ซึ่งมีความยืดหยุ่นในการต้ังคําาถามและการเก็บข้อมูล ผู้ให้สัมภาษณ์ (Interviewees) ที่มีความสําาคัญต่องานศึกษานี้ ได้แก่ ผู้ที่มีความชําานาญทางด้านกฎหมายระหว่าง ประเทศที่อาจจะแสดงความเห็นเก่ียวกับผลของกฎหมาย กติกา บรรทัดฐาน และข้อ ตกลงระหว่างประเทศที่อาจส่งผลต่อการยกระดับปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ไปสู่ สากลและการแทรกแซงอาํา นาจอธปิ ไตยของประเทศไทย นอกจากน้ี ผจู้ ดั ทาํา ยงั เลง็ เหน็ ความสําาคัญของการสัมภาษณ์ผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการสันติภาพในที่ต่างๆ เพ่ือทําาความเข้าใจถึงความเสี่ยงของการยกระดับปัญหาความขัดแย้งไปสู่สากล และ การแทรกแซงจากต่างประเทศ ท้ังน้ี เน่ืองจากข้อจําากัดในการเดินทางในช่วงการแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) การสมั ภาษณผ์ ทู้ มี่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง กับกระบวนการสันติภาพในที่ต่างๆ จึงถูกดําาเนินการผ่านระบบ Zoom Cloud Meeting ก่อนการเก็บข้อมูล ผู้จัดทําาได้ส่งแบบเสนอโครงร่างการวิจัยและเอกสาร สําาคัญท่ีเก่ียวข้อง เช่น เอกสารชี้แจงข้อมูลแก่ผู้เข้าร่วมโครงการวิจัย (Information sheet) และหนังสือแสดงเจตนายินยอมเข้าร่วมการวิจัย (Consent form) ทั้งท่ีเป็น
18





























































































   26   27   28   29   30