Page 26 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 26

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
พฒั นากรอบของการสง่ เสรมิ สทิ ธขิ องชนกลมุ่ นอ้ ยสบื เนอื่ งจากการฆา่ ลา้ งเผา่ พนั ธช์ุ าว ยวิ ในยโุ รปประมาณ 6 ลา้ นคน โดยกองกาํา ลงั นาซขี องเยอรมนรี ะหวา่ งสงครามโลกครงั้ ท่ีสอง ทําาให้ประชาคมระหว่างประเทศมีความต้ังใจที่จะสร้างมาตรการต่างๆ หลาย รูปแบบ เพื่อป้องกันไม่ให้เหตุการณ์เช่นน้ีเกิดขึ้นได้อีก เช่น มาตรการป้องกัน (Preventive Measures) ความขดั แยง้ โดยสามารถพจิ ารณาไดจ้ ากการรบั รองกตกิ า ระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยสทิ ธพิ ลเมอื งและสทิ ธทิ างการเมอื ง (International Covenant on Civil and Political Rights, ICCPR) ซ่ึงเป็นการเคารพสิทธิบุคคลทางด้านต่างๆ เช่น สิทธิในชีวิต และกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ วฒั นธรรม(InternationalCovenantonEconomic,SocialandCulturalRights, ICESCR) ซงึ่ เปน็ การสง่ เสรมิ ใหป้ ระเทศภาคใี หส้ ทิ ธทิ างเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื ง แก่บุคคล โดยท้ัง 2 กติกามีผลบังคับใช้นับตั้งแต่ปี 2519 เป็นต้นมา
นอกจากนี้ ในกรณีท่ีเกิดเหตุการณ์ท่ีถือว่าเป็นวิกฤตทางด้านมนุษยธรรม อาจมีมาตรการอ่ืนๆ เพ่ือหยุดยั้งเหตุการณ์รุนแรงท่ีเกิดขึ้น อาทิ อนุสัญญาเจนีวา (Geneva Convention) ซงึ่ เปน็ แกนสาํา คญั ของกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ และเป็นข้อบังคับในการทําาสงคราม (ตามหลักการในภาษาลาตินท่ีว่า Jus in bello) เพ่ือปกป้องประชาชนผู้บริสุทธ์ิจากผลกระทบของความขัดแย้งทางอาวุธ ดังน้ัน เม่ือ ใดทมี่ สี ถานการณค์ วามขดั แยง้ ทม่ี คี ณุ ลกั ษณะตามคาํา นยิ ามในบทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย มนุษยธรรมระหว่างประเทศ เม่ือน้ันกฎหมายจะมีผลต่อคู่สงคราม โดยจะปฏิบัติต่อ ฝ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายรัฐหรือเป็น ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐก็ตาม33 นอกจากน้ี ยังมีหลักการ R2P ที่ได้รับการรับรองจากรัฐ สมาชกิ ขององคก์ ารสหประชาชาตใิ นปี 2548 เพอ่ื ใหค้ วามชอบธรรมตอ่ การแทรกแซง เพ่ือป้องกันเหตุร้ายต่อมวลมนุษย์ กล่าวคือ เม่ือใดก็ตามท่ีความรุนแรงท่ีเกิดข้ึนเข้า ข่ายความรุนแรง 4 รูปแบบดังท่ีกล่าวมาข้างต้น เม่ือนั้นประชาคมระหว่างประเทศมี ความรับผิดชอบต่อเหตุการณ์ใน 3 ลักษณะ ได้แก่ ความรับผิดชอบในการปกป้อง
33 Zawacki, “Politically Inconvenient, Legally Correct: A Non-international Armed Conflict in Southern Thailand,” 153.
 16






























































































   24   25   26   27   28