Page 25 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 25

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ประเทศอันเป็นส่วนประกอบสําาคัญของโครงสร้างระหว่างประเทศที่จะมีผลในการ จําากัดและเอื้อต่อการกระทําาการของตัวแสดงต่างๆ ทั้งรัฐบาลไทย และตัวแสดงอื่นๆ ท่ีมีผลต่อการยกระดับปัญหาไปสู่สากลและการแทรกแซงในปัญหาพื้นท่ีจังหวัด ชายแดนภาคใต้
กฎหมายระหว่างประเทศท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในสถานการณ์ความไม่สงบ ในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้มีหลายประการด้วยกัน ได้แก่ ส่วนท่ีให้ความคุ้มครอง อาํา นาจอธปิ ไตยของรฐั และสว่ นทใี่ หค้ วามคมุ้ ครองสทิ ธขิ องชนกลมุ่ นอ้ ย ซงึ่ สว่ นนเี้ ปน็ ส่วนที่ฝ่ายรัฐไทยมีความกังวลว่า ตัวแสดงภายนอกจะใช้กล่าวอ้างเพ่ือยกระดับหรือ แทรกแซงในปัญหาในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้
ในส่วนท่ีให้ความคุ้มครองรัฐ ได้แก่ หลักการเคารพอําานาจอธิปไตยของรัฐ (Sovereignty) อันเป็นหลักคิดสําาคัญของระบบระหว่างประเทศในปัจจุบันที่ยึดถือ อําานาจรัฐเหนือขอบเขตดินแดนท่ีแน่นอน (Territorial Sovereignty) นอกจากน้ี โครงสรา้ งระหวา่ งประเทศยงั มกี ารปกปอ้ งอาํา นาจอธปิ ไตยของรฐั ดว้ ยหลกั การอนื่ ๆ ซงึ่ ระบุในเอกสารต่างๆ ของสหประชาชาติ อาทิ หลักการไม่แทรกแซงกิจการภายใน (Non-intervention in Domestic Affairs by the United Nations) ซึ่งระบุใน มาตรา 2(7) ของกฎบัตรสหประชาชาติ และการยึดถือความเสมอภาคกันในอําานาจ อธิปไตยของทุกรัฐ (Sovereign equality) ซึ่งระบุในปฏิญญาสมัชชาใหญ่ ( ส ห ป ร ะ ช า ช า ต )ิ ว า่ ด ว้ ย ค ว า ม ส มั พ นั ธ ฉ์ นั ท ม์ ติ ร ป ี 2 5 1 3 ( T h e G e n e r a l A s s e m b l y ’ s Declaration on Friendly Relations 1970) เป็นต้น นอกจากนี้ หลักการ ไม่แทรกแซงกิจการภายในยังถูกตอกยํา้าในกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ด้วย เช่นกัน
อยา่ งไรกด็ ี แมว้ า่ โครงสรา้ งระหวา่ งประเทศจะใหค้ วามสาํา คญั กบั การคมุ้ ครอง อําานาจรัฐ แต่ประชาคมระหว่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ อาทิ องค์การ สหประชาชาติ ยังคงให้ความสําาคัญในการคุ้มครองสิทธิของชนกลุ่มน้อยด้วยเช่นกัน เพ่ือป้องกันเหตุการณ์ที่อาจจะเข้าข่ายวิกฤตทางด้านมนุษยธรรม (Humanitarian Crisis) ซึ่งอาจจะเป็นผลมาจากการกระทําาของรัฐหรือตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐก็ได้ การ
15





























































































   23   24   25   26   27