Page 27 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 27

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
(Responsibility to Prevent) ความรับผิดชอบในการตอบโต้ (Responsibility to React) และความรับผิดชอบในการฟ้ืนฟู (Responsibility to Rebuilt)
ทงั้ น้ี ภายใตโ้ ครงสรา้ งระหวา่ งประเทศยงั มตี วั แสดงทงั้ ทเี่ ปน็ รฐั และไมใ่ ชร่ ฐั ที่มีการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันด้วยเป้าหมายท่ีต่างแตกกัน ในด้านหน่ึง ตัวแสดง ภายนอกอาจมคี วามพยายามในการแสดงบทบาทสนบั สนนุ กระบวนการแกป้ ญั หาทมี่ ี ความยืดเย้ือมาอย่างยาวนาน นอกจากน้ัน ในบางครั้ง ตัวแสดงภายนอกเหล่าน้ี อาจจะมีการแจ้งเตือน และวิพากษ์วิจารณ์ทางการไทยในกรณีท่ีการละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างร้ายแรง เช่น ในกรณีของเหตุการณ์ตากใบ กรือเซะ รวมท้ังการอพยพของชาว มุสลิมจําานวน 131 คนจากจังหวัดนราธิวาสไปที่รัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซียในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2548 เพื่อหลบหนีความรุนแรงท่ีเกิดข้ึน องค์การสหประชาชาติเองยัง มีการกล่าวถึงและแสดงความเป็นห่วงต่อสถานการณ์ความรุนแรงในพ้ืนที่จังหวัด ชายแดนภาคใต้เป็นระยะๆ ซ่ึงเห็นได้จากรายงานประจําาปีของเลขาธิการว่าด้วยเร่ือง เด็กและความขัดแย้งกันด้วยอาวุธ (Annual Report of the Secretary-General on Children and Armed Conflict (CAAC))34 แต่อีกด้านหน่ึง ทางการไทยก็มี พยายามรักษาอําานาจอธิปไตยให้มากท่ีสุด โดยป้องกันไม่ให้ฝ่ายท่ีสามได้เข้ามา “ยก ระดับปัญหาไปสู่สากล” หรือ “แทรกแซง” ในสถานการณ์พ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาค ใต้
การปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แสดงภายนอกและทางการไทย ภายใตโ้ ครงสรา้ ง ระหวา่ งประเทศทใี่ หค้ วามสาํา คญั กบั อาํา นาจอธปิ ไตยของรฐั และการปกปอ้ งประชาชน จากเหตกุ ารณร์ นุ แรงนนั้ ไดส้ รา้ งความกงั วลใหแ้ กร่ ฐั ไทยถงึ โอกาสทตี่ วั แสดงภายนอก จะยกระดับและแทรกแซงปัญหาในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่ในความเป็นจริง รัฐบาลไทยควรจะมีข้อกังวลถึงปัญหาเหล่าน้ีแค่ไหน และตัวแสดงภายนอกทั้งที่เป็น
34 เช่น United Nations, A/64/742–S/2010/181 Children and Armed Conflict Report of the Secretary-General, https://www.un.org/ga/search/view_doc.asp?symbol= S/2010/181&Lang=E&Area=UNDOC; United Nations, A/67/845*–S/2013/245*, https:// www.un.org/ga/search/view_doc.asp?symbol=S/2013/245&Lang=E&Area=UN- DOC
 17





























































































   25   26   27   28   29