Page 23 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 23
ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
ผลต่อความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างประเทศไทยและมาเลเซีย28 และบทบาทของ อาเซียนหรือสมาชิกอาเซียนในการแก้ปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต2้9นอกจากนี้อาจจะมีการศึกษาท่ีให้ความสนใจเก่ียวกับบทบาทของภาคส่วน ตา่ งๆ ของรฐั ไทยในการสรา้ งวาทกรรมตา่ งๆ เพอื่ อธบิ ายหรอื นยิ ามสถานการณใ์ นพนื้ ที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่น วิทยานิพนธ์และงานเขียนของรอมฎอน ปันจอร์30 หรือ งานของ Benjamin Zawacki31 ท่ีออกมาโต้แย้งข้อถกเถียงของกระทรวงการต่าง ประเทศของประเทศไทยที่ว่า พ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ไม่ได้เป็น “ความขัดแย้ง” (Conflict) ตามคําานิยามของการขัดแย้งทางอาวุธที่ไม่ใช่ระหว่างประเทศ ทั้งน้ี แม้ว่า งานของรอมฎอนและ Zawacki มีคุณค่าในแง่ของการนําาเสนอปัญหาของการสร้าง วาทกรรมในบริบทการเมืองไทย แต่งานทั้ง 2 ชิ้นน้ี เป็นการศึกษาเชิงลึกเก่ียวกับ ผลกระทบจากเง่ือนไขและการนิยามการขัดแย้งทางอาวุธท่ีไม่ใช่ระหว่างประเทศแต่
28 SurinPitsuwan,IssuesaffectingbordersecuritybetweenMalaysiaandThailand (Bangkok: Thammasat University Press, 1982); John Funston, “Malaysia and Thailand’s Southern Conflict: Reconciling Security and Ethnicity,” Contemporary Southeast Asia 32, no. 2 (2010): 234–257; Chanintira na Thalang, “Malaysia’s role in two South-East Asian insurgencies: ‘an honest broker’?,” Australian Journal of International Affairs 71, no. 4 (2017): 389-404.
29 Chanintira na Thalang and Pinn Siraprapasiri, “ASEAN’s (Non-) Role in Settling Ethnic Conflicts in Southeast Asia: Obstacles to Institutionalisation,” in Institutiona- lizing East Asia Mapping and Reconfiguring Regional Cooperation, eds. Alice D. Ba, Cheng-Chwee Kuik and Sueo Sudo, (Oxford and New York: Routledge, 2016), 131-155.
30 รอมฎอน ปนั จอร,์ “การเมอื งของถอ้ ยคาํา ในชายแดนใต/้ ปาตาน:ี การประกอบสรา้ ง “สนั ตภิ าพ” ในความขัดแย้งชาติพันธุ์การเมือง” (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการปกครอง คณะ รฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร,์ 2558); Romadon Panjor, “Chapter 2: Dealing with Dangerous ‘Peace’: Politics of Words in the ‘Armed Conflict’ of Pa(t)tani,” Asian Affairs 45, no. 2 (2018): 56-77.
31 BenjaminZawacki,“PoliticallyInconvenient,LegallyCorrect:ANon-international Armed Conflict in Southern Thailand,” Journal of Conflict & Security Law 18, no. 1 (2013): 151–179.
13