Page 22 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 22
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
สาํา หรบั งานในกลมุ่ ทสี่ ามทเี่ ปน็ การศกึ ษาผลกระทบจากปญั หาความขดั แยง้
ในพื้นท่ีจังหวัดภาคใต้ จะมีความแตกต่างจากวรรณกรรมในสองกลุ่มแรกตรงท่ีไม่ได้
เน้นศึกษาความขัดแย้งโดยตรง แต่มีข้อเหมือนตรงท่ีมองปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดมาจาก
ความขัดแย้งในพื้นท่ีว่าเป็นปัญหาภายในประเทศ ตัวอย่างงานวิชาการในกลุ่มน้ีได้
ศึกษาประเด็นปัญหาต่างๆ เช่น การย้ายถิ่นฐาน24 ผลจากการรายงานข่าวของความ
25 26
รนุ แรงในพนื้ ที่ และปญั หาเรอื่ งเศรษฐกจิ เปน็ ตน้ เนอื่ งจากสถานการณค์ วามรนุ แรง
ในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นประเด็นหลักท่ีเป็นท่ีจับตามองของตัวแสดงทั้งใน ประเทศและนอกประเทศ การถกเถียงหรือการผลิตงานศึกษาในกลุ่มน้ีจะมี ไม่มากนัก โดยเฉพาะงานศึกษาท่ีมองผลกระทบของปัญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต้ผ่านมุมมองของสาขาวิชาทางมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา27
ดังท่ีกล่าวมาข้างต้น งานวิชาการท่ีมองปัญหาในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาค ใต้จากมิติระหว่างประเทศยังมีจําานวนจําากัด แต่พอมีบ้างท่ีมีการศึกษาถึงปัญหาและ
24 ไกรยส ภัทราวาท, โครงการ: การย้ายถิ่นประชากรอันเน่ืองมาจากปัญหาความไม่สงบในพื้นท่ี 4 จังหวัดชายแดนใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ 4 อาเภอในจังหวัดสงขลา) (กรุงเทพฯ: สําานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) 2558); Chanintira na Thalang and Chontida Auikool, “The Immobility Paradox in Thailand’s Southern Border Provinces,” Southeast Asia Research 26, no. 4 (2018): 315–329.
25 Nuwan Thapthiang, “An Analysis of News Reporting and its Effects, Using IBIL Model: Lee Gardens Plaza and C.S. Pattani Hotels Cases,” Procedia - Social and Behavioral Sciences 91, (2013): 411-420.
26 May Tan-Mullins, “Voices from Pattani: Fears, suspicion, and confusion,” Critical Asian Studies 38, no. 1 (2006): 145-150.
27 อนุสรณ์ อุณโณ, “บทนําาหน่ึงทศวรรษงานเขียนชายแดนภาคใต้ภายใต้เหตุการณ์ความไม่สงบ ระลอกใหม”่ , ใน หนงึ่ ทศวรรษมนษุ ยวทิ ยาและสงั คมวทิ ยากบั การศกึ ษาจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ บรรณาธิการโดย อนุสรณ์ อุณโณ (กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย, 2560), 3-4.
12