Page 32 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 32

บทที่ 2 โครงสร้างระหว่างประเทศและความสําาคัญของการนิยาม “สถานการณ์” และ “ตัวแสดง” ที่เกี่ยวข้อง
บทนําา
จากที่กล่าวมาแล้วในบทที่ 1 ประชาคมระหว่างประเทศได้เล็งเห็นถึงความ สาํา คญั ของการปกปอ้ งประชาชนผบู้ รสิ ทุ ธจิ์ ากภาวะความขดั แยง้ และสงคราม ดว้ ยเหตุ นี้ ประชาคมระหวา่ งประเทศจงึ มกี ารลงนามในอนสุ ญั ญาเจนวี าทงั้ 4 ฉบบั และบงั คบั ใชก้ ฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ ตลอดจนมกี ารตงั้ ศาลอาญาระหวา่ งประเทศ ซงึ่ มอี าํา นาจพจิ ารณาความผดิ ทเี่ ปน็ การละเมดิ หลกั มนษุ ยธรรมอยา่ งรา้ ยแรงตามมาตรา 3 ที่ได้บัญญัติในอนุสัญญาเจนีวา นอกจากนี้ ประชาคมระหว่างประเทศยังพัฒนาหลัก การใหมๆ่ อาทิหลกั การความรบั ผดิ ชอบในการปกปอ้ ง(ResponsibilitytoProtect, R2P) ในกรณีที่ความขัดแย้งบานปลายจนเข้าสู่ภาวะสงครามในวงกว้าง หลักการและ กฎหมายระหว่างประเทศเหล่านี้ได้เปิดช่องทางให้ตัวแสดงภายนอกได้เข้ามามีส่วน ร่วมในการจัดการกับความขัดแย้งภายในและระหว่างประเทศได้
ดว้ ยเหตนุ ี้ โครงสรา้ งและกลไกระหวา่ งประเทศไดส้ รา้ งความกงั วลใหก้ บั รฐั ทปี่ ระสบกบั ปญั หาความขดั แยง้ เปน็ อยา่ งมาก จงึ ทาํา ใหใ้ นบางกรณฝี า่ ยรฐั เชน่ รฐั ไทย มคี วามระมดั ระวงั ในการใชส้ รรพนามเรยี ก “สถานการณ”์ และ “ตวั แสดงทกี่ อ่ เหตใุ น พื้นที่” เนื่องด้วยกังวลถึงผลกระทบเชิงลบต่ออําานาจการตัดสินใจและอธิปไตยของรัฐ บทนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการตอบคําาถามว่า สถานการณ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใตเ้ ขา้ ขา่ ยเปน็ ความขดั แยง้ ทางอาวธุ ทไี่ มใ่ ชร่ ะหวา่ งประเทศ (Non-Interna- tional Armed Conflicts, NIACs) ตามคาํา นยิ ามในกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ ง ประเทศหรือไม่ และการใช้คําาอื่นๆ เรียกแทน “สถานการณ์” และ “กลุ่มผู้เห็น ต่างจากรัฐ” มีผลในการส่งเสริมการยกระดับปัญหาไปสู่สากลและการแทรกแซง อําานาจอธิปไตยหรือไม่































































































   30   31   32   33   34