Page 34 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 34
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
ปฏบิ ตั ิ โอกาสทตี่ วั แสดงภายนอกจะเขา้ มาแทรกแซงอาํา นาจอธปิ ไตยของ รฐั มนี อ้ ยมาก เนอื่ งดว้ ยเหตผุ ลหลายประการ ไดแ้ ก่ 1) โครงสรา้ งระหวา่ ง ประเทศยังให้ความสําาคัญต่อการปกป้องอําานาจอธิปไตยของรัฐตาม หลกั การเวสตฟ์ าเลยี ซงึ่ ถกู ตอกยาํา้ ในกฎบตั รสหประชาชาตแิ ละกฎบตั ร อาเซียน 2) ทุกประเทศ ไม่ว่าจะเป็นรัฐมหาอําานาจหรือไม่ก็ตามย่อมมี ข้อจําากัดในการดําาเนินนโยบายต่างประเทศ จึงต้องมีการลําาดับความ สําาคัญของวาระในนโยบาย และ 3) ตัวแสดงภายนอกเองจะต้องคําานึง ถึงผลกระทบต่อความสัมพันธ์กับประเทศไทย และพิจารณาถึงผลได้ผล เสียจากการแทรกแซงกิจการภายในของรัฐ
การขัดแย้งทางอาวุธที่ไม่ใช่ระหว่างประเทศ (Non-international Armed Conflicts, NIACs) คืออะไร
กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศได้แบ่งคุณลักษณะของความขัดแย้ง ออกเป็น 2 ประการ ได้แก่ ความขัดแย้งที่เป็นเร่ืองระหว่างประเทศหรือรัฐต่อรัฐ (International Armed Conflict, IAC) และการขัดแย้งท่ีไม่ใช่ระหว่างประเทศ หรือ การขัดแย้งกันด้วยอาวุธภายในประเทศ กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ มีวัตถุประสงค์เพ่ือ “คุ้มครองบุคคลซึ่งไม่ได้มีส่วนร่วมหรือยุติการมีส่วนร่วมโดยตรง ในการขดั กนั ทางอาวธุ อกี ทงั้ จาํา กดั อาวธุ และวธิ กี ารทาํา สงครามระหวา่ งการขดั กนั ทาง อาวุธด้วยเหตุผลด้านมนุษยธรรม”1 เม่ือไหร่ก็ตามที่สถานการณ์ความขัดแย้งมี คุณลักษณะตรงตามคําานิยามที่บัญญัติไว้ในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ เมื่อนั้นกฎหมายจะมีผลบังคับใช้ต่อคู่สงครามโดยตรง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายรัฐหรือเป็น ตัวแสดงท่ีไม่ใช่รัฐก็ตาม
1 คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ, “กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ: ถาม–ตอบ ทุกคําาถาม,” ธันวาคม 2562, https://blogs.icrc.org/th/wpcontent/uploads/ sites/104/2020/03/0703_301_IHL-Answers-to-Your-Questions-TH-web-version. pdf, 6
24