Page 35 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 35

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
สถานการณ์ที่เข้าข่ายเป็นการขัดแย้งระหว่างประเทศหรือรัฐต่อรัฐต้องมี คณุ ลกั ษณะ 2 ประการ ไดแ้ ก่ 1) มคี วามขดั แยง้ ระหวา่ งรฐั หรอื ระหวา่ งรฐั และองคก์ าร ระหว่างประเทศ หรือระหว่างประชาชนที่ต่อสู้เพ่ือปลดปล่อยตัวเองจากการเป็น อาณานิคมหรือต่อต้านการยึดครองโดยชาวต่างชาติ หรือเป็นการต่อสู้กับการเหยียด สผี วิ โดยใชส้ ทิ ธใิ นการกาํา หนดเจตจาํา นงของตวั เอง และ 2) ตอ้ งมกี ารเผชญิ หนา้ กนั ทาง ด้านการทหาร ซ่ึงหมายรวมถึงการประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ หรือมีการ ครอบงําาดินแดนท้ังหมดหรือบางส่วนของประเทศท่ีเป็นภาคีของอนุสัญญาเจนีวา
ส่วนการนิยามขอบเขตการขัดแย้งท่ีไม่ใช่ระหว่างประเทศ มีการระบุราย ละเอียดสําาคัญใน 1) มาตรา 3 ร่วม (Common Article 3) ในอนุสัญญาเจนีวา และ 2) พิธีสารเพิ่มเติมใน 1977 ฉบับท่ี 2 (The Additional Protocol II of 1977) ซ่ึงได้ เสริมหลักในมาตรา 3 ร่วมในอนุสัญญาเจนีวา ท้ังนี้ประเทศไทยเป็นภาคีในอนุสัญญา เจนีวาท้ัง 4 ฉบับ แต่ไม่ได้เป็นภาคีในพิธีสารเพ่ิมเติมใน 1977 ฉบับที่ 2 อย่างไรก็ตาม พิธีสารเพ่ิมเติมใน 1977 มีวัตถุประสงค์เพียงเพื่อพัฒนาและเสริม แต่ไม่มีผลในการ ปรับเปลี่ยนการบังคับใช้มาตรา 3 ร่วมในอนุสัญญาเจนีวาแต่อย่างใด2
ในภาพรวม การขัดแย้งท่ีไม่ใช่ระหว่างประเทศเป็นความขัดแย้งท่ีเกิดขึ้น ภายในอาณาเขตของรัฐ และเป็นการสู้รบทางอาวุธระหว่างกองกําาลังของรัฐบาลกับ กองกาํา ลงั ตดิ อาวธุ ของฝา่ ยตรงขา้ มในวงกวา้ ง หรอื การสรู้ บระหวา่ งกองกาํา ลงั ตดิ อาวธุ ดว้ ยกนั เอง ทงั้ นี้ คณะกรรมการกาชาดระหวา่ งประเทศ (International Committee of the Red Cross, ICRC) ได้แสดงความเห็นว่า “การท่ีจะพิจารณาว่าการขัดกันทาง อาวธุ ใดเปน็ การขดั กนั ทางอาวธุ ทมี่ ใิ ชร่ ะหวา่ งประเทศ หรอื ไมน่ นั้ ใหด้ จู ากระดบั ความ ตงึ เครยี ดวา่ จะตอ้ งสงู ถงึ ระดบั หนงึ่ อกี ทงั้ กลมุ่ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง จะตอ้ งมกี ารจดั ตงั้ ทเี่ ปน็ กจิ จะ
2 “HowistheTerm“ArmedConflict”DefinedinInternationalHumanitarianLaw?” International Committee of the Red Cross (ICRC) Opinion Paper, March 2008, https://www.icrc.org/en/doc/assets/files/other/opinion-paper-armed-conflict.pdf, 4.
 25





























































































   33   34   35   36   37