Page 33 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 33

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
บทนมี้ คี วามมงุ่ หวงั ในการสรา้ งความกระจา่ งเกยี่ วกบั ผลจากการใชค้ าํา ตา่ งๆ เพ่ือเรียกแทน “ผู้เห็นต่างจากรัฐ” และ “สถานการณ์” และโอกาสในการยกระดับ ปัญหาไปสู่สากลและ/หรือการแทรกแซงระหว่างประเทศ โดยบทน้ีจะแบ่งการ วิเคราะห์ออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
ส่วนท่ีหน่ึง เป็นการอธิบายถึงคําานิยามและเงื่อนไขต่างๆ ของการขัดแย้ง ทางอาวุธท่ีไม่ใช่ระหว่างประเทศตามท่ีบัญญัติไว้ในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่าง ประเทศ ทง้ั น้ี เนอื่ งจากกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศเปน็ กฎหมายทคี่ รอบคลมุ ถงึ ความขดั แยง้ ทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในอาณาเขตของรฐั ระหวา่ งฝา่ ยรฐั และตวั แสดงทไี่ มใ่ ชร่ ฐั ในบทนจี้ งึ จะอธบิ ายถงึ ขอ้ คดิ เหน็ และการตคี วามทแี่ ตกตา่ งกนั ระหวา่ งฝา่ ยตา่ งๆ ไดแ้ ก่ รัฐบาลไทย ผู้เช่ียวชาญทางกฎหมายระหว่างประเทศ องค์การพัฒนาเอกชน นัก วิชาการ และสถาบันคลังสมอง ในการนิยามสถานการณ์ในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาค ใต้ อันส่งผลทําาให้แต่ละฝ่ายมีการเรียกชื่อแทนสถานการณ์และกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ ที่แตกต่างกันไป
ส่วนที่สอง เป็นการวิเคราะห์ถึงการบังคับใช้กฎหมายในทางปฏิบัติ
จากการศกึ ษาการบงั คบั ใชก้ ฎหมายและหลกั การระหวา่ งประเทศทเี่ กยี่ วขอ้ ง ในบทนี้ พบว่า
● การใช้คําาใดๆ เรียกแทนกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐหรือสถานการณ์ไม่มีผล ในการเพ่ิมหรือลดโอกาสในการยกระดับปัญหาสู่สากล และ/หรือการ แทรกแซงอําานาจอธิปไตยของรัฐ
● สรรพนามที่ใช้เรียกแทนกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐหรือสถานการณ์โดย ทางการไทย มิได้ส่งผลทําาให้ตัวแสดงระหว่างประเทศ เช่น ส่ือ องค์กร พฒั นาเอกชน สถาบนั คลงั สมอง นกั วชิ าการ และองคก์ รระหวา่ งประเทศ ยอมรับท่ีจะใช้คําาเรียกเหล่านี้ตามอย่างทางการไทย
● แมว้ า่ สถานการณใ์ นพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตม้ คี ณุ ลกั ษณะทต่ี รงตาม คําานิยามของการขัดแย้งทางอาวุธที่ไม่ใช่ระหว่างประเทศ ซ่ึงบัญญัติไว้ ในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศอยู่หลายประการ แต่ในทาง
23


























































































   31   32   33   34   35