Page 36 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 36
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
ลักษณะเพียงพอด้วย”3 การท่ีกองกําาลังฝ่ายที่ไม่ใช่รัฐจะต้องมีการจัดตั้งที่เป็นกิจจะ ลักษณะเพียงพอ หมายถึง มีความสามารถในการจัดตั้งในเชิงองค์กร (โดยพิจารณา จากองค์ประกอบย่อยต่างๆ ได้แก่ มีสายบังคับบัญชา ข้อกําาหนดในเร่ืองระเบียบวินัย และกลไกภายในกลมุ่ ตดิ อาวธุ มกี ารจดั ตงั้ กองบญั ชาการทมี่ คี วามสามารถในการจดั หา ขนส่ง และกระจายอาวุธ มีความสามารถในการวางแผน การประสานงาน และการ ปฏิบัติการทางทหาร ท้ังการเคลื่อนย้ายกําาลังพลและการส่งกําาลังบําารุงทางทหาร รวมถึงความสามารถในการเจรจาต่อรองและสรุปสาระสําาคัญของข้อตกลงต่างๆ เช่น ข้อตกลงหยุดยิง หรือสนธิสัญญาสันติภาพ) นอกจากน้ียังต้องมีความสามารถในการ ป ฏ บิ ตั กิ า ร โ จ ม ต อี ย า่ ง ต อ่ เ น อื ่ ง แ ล ะ พ ร อ้ ม เ พ ร ยี ง แ ล ะ ส า ม า ร ถ ค ว บ ค มุ อ า ณ า บ ร เิ ว ณ ส ว่ น หนงึ่ ภายในอาณาเขตของรฐั ได้ เพอื่ ทจ่ี ะไดด้ าํา เนนิ การปฏบิ ตั กิ ารไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง รวม ทงั้ มคี วามสามารถทจี่ ะปฏบิ ตั ติ ามพนั ธกรณพี นื้ ฐานตามกฎหมายสงครามหรอื กฎหมาย มนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ เชน่ การทคี่ สู่ งครามจะตอ้ งสวมเครอื่ งแบบและถอื อาวธุ เพอ่ื แสดงการโจมตโี ดยเปดิ เผย ตามกฎเกณฑส์ ากลทก่ี าํา หนดไมใ่ หค้ สู่ งครามโจมตแี ละ ทําาลายเป้าหมายที่เป็นพลเรือนซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับความขัดแย้ง อีกทั้งยังมีการ พิจารณาจากระดับความตึงเครียดจากการขัดกันทางอาวุธซ่ึงจะต้องสูงถึงระดับหนึ่ง ด้วย4
เน่ืองจากกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศมีวัตถุประสงค์หลักในการ คุ้มครองพลเรือนผู้บริสุทธ์ิทุกคนที่ไม่ได้มีส่วนเก่ียวข้องกับความขัดแย้งทางอาวุธ ดังน้ัน เม่ือพ้ืนท่ีความขัดแย้งใดๆ ได้ถูกนิยามว่า เป็น “การขัดกันด้วยอาวุธภายใน ประเทศ” สนธสิ ญั ญาและกฎจารตี ประเพณขี องกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ จึงผูกมัดภาคีท้ังหมดท่ีเก่ียวข้องกับการขัดกันทางอาวุธ ไม่ว่าจะเป็นรัฐหรือกองกําาลัง ติดอาวุธท่ีมิใช่รัฐโดยคู่สงครามพึงต้องเคารพต่อหลักการมนุษยธรรมโดยการไม่เลือก ปฏิบัติต่อพลเรือน และยึดมั่นในกติกาการสู้รบที่จะไม่กระทบต่อความปลอดภัยของ
3 คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ, “กฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ: ถาม–ตอบ ทุกคําาถาม,” 19.
4 Ibid, 18 – 19.
26