Page 38 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 38
รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
จากความคลุมเครือทางกฎหมายทําาให้หลายฝ่ายมีการตีความสถานการณ์ ในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้แตกต่างกันออกไป ในบริบทของประเทศไทยอาจจะ แบ่งการถกเถียงเป็น 2 ฝ่ายหลักๆ
ในดา้ นหนงึ่ ฝา่ ยรฐั บาลไทยและกระทรวงการตา่ งประเทศไทยไดป้ ฏเิ สธการ นิยามสถานการณ์ในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ว่าเป็น “ความขัดแย้ง (Conflict)” และเชอื่ วา่ สถานการณใ์ นพนื้ ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใตน้ น้ั ไมไ่ ดเ้ ขา้ เกณฑก์ ารขดั กนั ทาง อาวุธภายในประเทศแต่อย่างใด เนื่องจากเหตุผล 4 ประการด้วยกัน8
ประการท่ีหน่ึง ไม่มีกลุ่มองค์กรใดประกาศความรับผิดชอบต่อสถานการณ์ ความรุนแรงท่ีเกิดข้ึน นอกจากน้ียังไม่มีการกล่าวอ้างท่ีจําาเพาะเจาะจงใดๆ เกี่ยวกับ การดาํา รงอยขู่ องกลมุ่ ผเู้ หน็ ตา่ งจากรฐั ทมี่ ลี กั ษณะการจดั ตงั้ เชงิ องคก์ รและมโี ครงสรา้ ง ท่ีชัดเจน (Organised Insurgent Group)
ประการท่ีสอง กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีการ กระทําาการอย่างปิดลับ ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับปฏิบัติการและโครงสร้างที่สะท้อนให้เห็น สายบังคับบัญชาใดๆ
ประการที่สาม กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐไม่สามารถควบคุมเขตหรือพ้ืนท่ีใด ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้จนส่งผลทําาให้รัฐบาลสูญเสียการควบคุมพ้ืนที่และ ไม่สามารถบังคับใช้กฎหมายได้อย่างท่ัวถึง
ประการที่สี่ การโจมตีของ “ผู้ก่อเหตุรุนแรง” น้ันค่อนข้างจําากัดและ มีลักษณะกระจัดกระจาย อีกท้ังยังมีข้อมูลยืนยันด้วยว่า สัดส่วนของเหตุรุนแรงโดย ส่วนมากเป็นเพียงอาชญากรรมท่ีเก่ียวข้องกับการเมืองท้องถิ่น ยาเสพติด และธุรกิจ ผิดกฎหมาย หรือความขัดแย้งส่วนตัวเท่านั้น
8 DepartmentofInternationalOrganization,MinistryofForeignAffairs.“Thailand’s Information and Clarifications on the Draft Amnesty International Report on the Situation in the Southern Border Provinces of Thailand” cited in Amnesty International, Amnesty International, “‘They Took Nothing but His Life’: Unlawful Killings in Thailand’s Southern Insurgency,” 27 September 2011. Retrieved from https://www.amnesty.org/en/documents/asa39/002/2011/en/, 53–59.
28