Page 39 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 39

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
เนอื่ งจากรฐั บาลไทยและกระทรวงการตา่ งประเทศมคี วามเหน็ วา่ สถานการณ์ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ไม่ได้เข้าข่ายเป็นการขัดกันด้วยอาวุธภายในประเทศ หน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐจึงมีการใช้คําาเรียกแทน “สถานการณ์” และ “ตัวแสดง” ที่เห็นต่างจากรัฐในหลายรูปแบบและเปล่ียนแปลงไปในแต่ละยุคสมัย แต่ที่สําาคัญ คําาเรียกแทนเหล่านี้จะต้องมีความสอดคล้องต้องกันกับกฎหมายที่บังคับใช้อยู่ภายใน ประเทศเชน่ “ผู้กอ่เหต”ุ (Perpetrator)มคีวามหมายเทียบเคียงกบั คําาว่า“ผกู้ระทาํา ความผดิ ” (Offender) ในประมวลกฎหมายอาญา สว่ นการเตมิ คาํา วา่ “รนุ แรง” เขา้ ไป นั้นก็เป็นเฉพาะในบางกรณีตามแต่ระดับความรุนแรงของสถานการณ์ ในความรู้สึก ของผู้คน เพื่อให้ผู้คนยอมรับในความเหมาะสมของการบังคับใช้กฎหมายความมั่นคง ชนิดพิเศษของเจ้าหน้าที่รัฐ เหตุผลสําาคัญเบ้ืองหลังคําาเรียกแทนเหล่านี้ คือ คําาเรียก แทนทเี่ หมาะสมจะชว่ ยจาํา กดั และปอ้ งกนั คาํา นยิ ามสถานการณไ์ มใ่ หเ้ ขา้ ขา่ ยสถานะของ การขัดแย้งทางอาวุธท่ีไม่ใช่ระหว่างประเทศตามมาตรา 3 ร่วม (Common Article 3) ของกฎหมายมนษุ ยธรรมระหวา่ งประเทศ9 ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากพฒั นาการของชดุ ถอ้ ยคาํา ตงั้ แตช่ ว่ งกอ่ นปี 2547 คอื “ขบวนการแบง่ แยกดนิ แดน” ทสี่ อื่ ถงึ ความเปน็ ภยั คกุ คาม ต่อระเบียบของรัฐ อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ความรุนแรงในแบบแผนใหม่ตั้งแต่ปี 2547 ได้เปลี่ยนมาใช้คําาว่า “โจรก่อการร้าย” “โจรใต้” หรือ “โจรกระจอก” เพื่อลด ทอนความเป็นการเมือง (Depoliticise) และลดความชอบธรรม (Delegitmise) ต่อ เปา้ ประสงคข์ องฝา่ ยตรงขา้ ม10 ทาํา ใหส้ ามารถเรยี กสถานการณใ์ นพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดน ภาคใต้ได้ว่าเป็นเพียงสถานการณ์ทางอาชญากรรม หลังจากน้ันได้มีการใช้คําาว่า “ผู้ก่อความไม่สงบ” จนกระทั่งในปี 2552 ได้มีการใช้ถ้อยคําาเช่น “ผู้ก่อเหตุรุนแรง” ท่ีมีความหมายเชื่อมโยงกับการกระทําาในเชิงอาชญากรรมท่ีต้องถูกดําาเนินคดีภายใน ประเทศ และเม่ือกระบวนการพูดคุยระหว่างรัฐไทยกับผู้กระทําาเหตุรุนแรงในพื้นท่ี
9 รอมฎอน, “การเมอื งของถอ้ ยคาํา ในชายแดนใต/้ ปาตาน:ี การประกอบสรา้ ง “สนั ตภิ าพ” ในความ ขัดแย้งชาติพันธุ์การเมือง,” 138.
10 Marc Askew, “Fighting with Ghosts: Querying Thailand’s ‘Southern Fire’,” Contemporary Southeast Asia 32, no. 2 (2010): 117-155.
 29






























































































   37   38   39   40   41