Page 41 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 41

ความขัดแย้ง การเจรจา และการแบ่งสรรปันอําานาจ: กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย และบทเรียนของบางประเทศ
แต่ในอีกด้านหนึ่ง มีหลายฝ่ายโดยเฉพาะผู้ท่ีมีความรู้ดีทางด้านกฎหมาย ระหว่างประเทศได้ออกมาโต้แย้งคําาอธิบายของรัฐบาลไทยและกระทรวงการต่าง ประเทศไทย เช่น Chiara Redaelli จากสําานักกฎหมาย Rule of Law in Armed Conflicts (RULAC) ที่ตั้งอยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ และ Benjamin Zawacki นักฎหมายระหว่างประเทศและเจ้าหน้าท่ีแห่งมูลนิธิเอเชีย (Asia Founda- tion) ต่างมีความเห็นพ้องต้องกันว่า ความขัดแย้งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เข้า ข่ายเป็นการขัดแย้งทางอาวุธท่ีไม่ใช่ระหว่างประเทศ ด้วยเหตุผลสําาคัญซ่ึงมีความ สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ตามกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ
ประการท่ีหน่ึง ระดับของความรุนแรงท่ีเกิดข้ึนจากความขัดแย้งที่ใช้กําาลัง และอาวธุ มากเกนิ กวา่ ระดบั ของสถานการณท์ ตี่ งึ เครยี ด (Tensions) และความไมส่ งบ ภายใน (Internal Disturbance) อีกท้ังการต่อสู้จะต้องดําาเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็น ระยะเวลานาน โดย Chiara Redaelli13 ผู้เชี่ยวชาญทางกฎหมายแห่งสําานักกฎหมาย RULAC ได้แบ่งช่วงเวลาของความขัดแย้งที่ใช้กําาลังและอาวุธระหว่างรัฐไทยกับกลุ่ม ติดอาวุธออกเป็น 2 ระลอก ได้แก่ ช่วงสงครามเย็น และหลังปี 2547 จนถึงปัจจุบัน ทั้งน้ี ในปี 2547 เป็นปีที่สถานการณ์การต่อสู้ระหว่างกองทัพไทยและขบวนการ แนวรว่ มปฏวิ ตั แิ หง่ ชาตมิ ลายปู าตานี (Barisan Revolusi Nasional Melayu Patani, BRN) หรอื บอี ารเ์ อน็ ไดป้ ะทขุ นึ้ อกี ครงั้ แมว้ า่ ระดบั ความรนุ แรงไดล้ ดลงในชว่ งระหวา่ ง ปี 2550-2555 กต็ าม ทวา่ การเผชญิ หนา้ ทางอาวธุ ระหวา่ งทงั้ สองฝา่ ยไดเ้ รมิ่ ตน้ อกี ครงั้ ต้ังแต่ปี 2555 และดําาเนินมาอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
ประการท่ีสอง ฝ่ายกลุ่มติดอาวุธท่ีต่อต้านรัฐมีลักษณะเป็นองค์กร โดย Chiara Redaelli ไดบ้ ง่ ชถี้ งึ ศกั ยภาพของกลมุ่ BRN ในการวางแผน การประสาน และ การปฏิบัติการทางทหารด้วยยุทธวิธีการต่อสู้หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการ
13 ChiaraRedaelli,“SouthernThailand:ANon-InternationalArmedConflictbetween the Thai Military and Armed Groups,” RULAC, 29 November 2018, https://www. rulac.org/news/southern-thailand-a-non-international-armed-conflict-between- the-thai-milit
 31





























































































   39   40   41   42   43