Page 42 - ความขัดแย้ง การเจรจาและการแบ่งสรรปันอำนาจ
P. 42

รองศาสตราจารย์ ดร.ชนินท์ทิรา ณ ถลาง, อาจารย์ ร้อยเอก ดร.จารุพล เรืองสุวรรณ
วางระเบดิ การยงิ จากรถยนต์ การยงิ แบบซมุ่ โจมตี และการโจมตโี ดยใชม้ ดี ขนาดใหญ่ (Machete attacks)
ในขณะที่งานศึกษาของ Benjamin Zawacki ได้อธิบายว่า กลุ่มก่อความ
ไมส่ งบในจงั หวดั ชายแดนภาคใตม้ กี ารจดั ตงั้ ในเชงิ องคก์ รทเี่ ปน็ กจิ จะลกั ษณะในระดบั
14 หนึ่ง โดยพิจารณาจากองค์ประกอบที่สําาคัญ ดังต่อไปนี้
ประการที่หน่ึง โครงสร้างท่ีเป็นสายบังคับบัญชาของกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆ (Cell) ท่ีมีลักษณะการ กระจายอําานาจสูง และมีโครงสร้างการประสานงานแบบหลวมๆ ภายใต้ภาวะการนําา หลายฝ่าย (Factional Leadership) โดยข้อมูลเก่ียวกับผู้นําาและสมาชิกขององค์กร จะต้องถูกปิดเป็นความลับข้ันสูงสุด ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในองค์กรติดอาวุธ เหล่านี้เป็นความสัมพันธ์แบบลําาดับชั้นที่ประกอบด้วยผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับ บัญชา โดยมีระบบที่ควบคุมระเบียบวินัยของสมาชิกในองค์กรอย่างชัดเจน โดย พิจารณาจากการท่ีสภาศาสนา (Ulama) ออกกฎบังคับให้สมาชิกใหม่ต้องกล่าว คําาปฏิญญาณตนตามบัญญัติ 10 ประการในคัมภีร์อัลกรุอ่าน และสาบานตนต่อเพ่ือน สมาชิกว่าจะยึดมั่นในกฎการรักษาความลับและจงรักภักดีอย่างสูงสุดต่อองค์กร ในขณะเดยี วกนั กม็ กี ารกาํา หนดบทลงโทษสาํา หรบั ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาทล่ี ะเมดิ ตอ่ คาํา สาบาน เช่นกัน
ประการท่ีสอง กลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐมีความสามารถในการจัดการ ขนส่ง ลําาเลียง และกระจายอาวุธมาเป็นระยะเวลานานก่อนปี 2547 กองกําาลังติดอาวุธ เหลา่ นสี้ ามารถจดั หาอาวธุ ไดจ้ ากตลาดคา้ อาวธุ ทเี่ ปน็ ทางการ โดยรฐั บาลไทยอนญุ าต ใหพ้ ลเมอื งในพนื้ ทจี่ งั หวดั ชายแดนภาคใตส้ ามารถครอบครองอาวธุ ขนาดเลก็ ไดอ้ ยา่ ง ถกู กฎหมายเพอื่ ปอ้ งกนั ตนเอง นอกจากนี้ กลมุ่ ผเู้ หน็ ตา่ งจากรฐั ยงั สามารถเขา้ ถงึ อาวธุ ได้จากตลาดมืด ต่อมาในช่วงหลังปี 2547 ยุทธวิธีการเข้าถึงอาวุธของกลุ่มผู้ก่อความ
14 Zawacki, “Politically Inconvenient, Legally Correct: A Non-international Armed Conflict in Southern Thailand,” 151–179.
 32


























































































   40   41   42   43   44